Page 45 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 45
33
ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีกติกาฯ โดยการภาคยานุวัติ ใน พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) และได้ตั้ง
ข้อสงวนโดยการท าถ้อยแถลงการณ์ตีความ (Interpretative Declaration) เกี่ยวกับสิทธิในการก าหนด
เจตจ านงตนเองว่าในข้อบทที่ 1 ว่า จะตีความสอดคล้องกับปฏิญญากรุงเวียนนาและแผนปฏิบัติการที่ได้รับรอง
53
ในการประชุมระดับโลกว่าด้วยสิทธิมนุษยชนเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน ค.ศ. 1993 (พ.ศ. 2536)
ตารางที่ 2 เปรียบเทียบข้อบทสิทธิมนุษยชนตาม “บทบัญญัติสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ”
UDHR ICCPR ICESCR
ข้อ 1 สิทธิในการก าหนดเจตจ านง ข้อ 1 สิทธิในการก าหนดเจตจ านง
ตนเองทางด้านการเมือง ตนเองทางด้านการเมือง
และเศรษฐกิจ สังคม แล ะเ ศร ษฐ กิจ สั งค ม
วัฒนธรรม วัฒนธรรม
ข้อ 1 มนุษย์ทุกคนมีศักดิ์ศรี ข้อ 1 สิทธิของปวงชนในการ
อิสรภาพ และเสมอภาคกัน ก าหนดอนาคตของตนเอง
ข้อ 2 สิทธิที่จะไม่ถูกเลือกปฏิบัติ ข้อ 2 การปรับใช้กติกาฯ ใน
ข้อ 3 สิทธิในชีวิตร่างกายและ ประเทศและห้ามมิให้มีการ
เสรีภาพ เลือกปฏิบัติต่อบุคคลใด
ข้อ 4 อิสระจากการเป็นทาส ข้อ 3 ความเสมอภาคระหว่าง
ข้อ 5 อิสระจากการทรมาน การ หญิงชาย
ลงโทษที่ทารุณโหดร้าย ข้อ 4 ข้อยกเว้นพันธกรณีเมื่อเกิด
หรือปฏิบัติที่ย่ ายีศักดิ์ศรี ภาวะฉุกเฉิน
มนุษย์ ข้อ 5 การตีความจ ากัดสิทธิ
ข้อ 6 สิทธิที่จะเป็นบุคคลตาม กระท ามิได้
กฎหมาย ข้อ 6 สิทธิในชีวิต
ข้อ 7 สิทธิที่จะได้รับการคุ้มครอง ข้อ 7 ห้ามมีทาส
จากกฎหมายเสมอภาคกัน ข้อ 9 อิสรภาพของบุคคลและ
ข้อ 8 สิทธิที่จะได้รับการเยียวยา ความมั่นคงปลอดภัยของ
ทางศาลจากการถูกละเมิด บุคคล
สิทธิ ข้อ 10 สิทธิของผู้ต้องขังที่จะได้รับ
ข้อ 9 อิสระจากการถูกจับกุม การปฏิบัติอย่างสมศักดิ์ศรี
คุมขัง หรือเนรเทศโดย ความเป็นมนุษย์
พลการ ข้อ 11 ห้ามคุมขังแทนการช าระหนี้
ข้อ 10 สิทธิที่จะได้รับความเป็น ข้อ 12 เสรีภาพในการเดินทาง
ธรรมจากการพิจารณาคดี ข้อ 13 การคุ้มครองคนต่างด้าว
ข้อ 11 สิทธิในคดีอาญาที่ได้รับ จากการเนรเทศอย่างไม่
สันนิษฐานไว้ก่อนว่า เป็นธรรม
53
เรื่องเดียวกัน, หน้า 23-25.