Page 56 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 56

ประกอบวิชาชีพเวชกรรมผู นั้นประกอบวิชาชีพเวชกรรมโดยไม รักษา

                       มาตรฐานในระดับที่ดีที่สุด
                              ข อ ๑๐ ผู ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ปฏิบัติเกี่ยวกับการยุติการตั้ง

                       ครรภ ทางการแพทย ตามข อบังคับนี้ ให ถือว าได กระท า  ตาม

                       มาตรา ๓๐๕ แห งประมวลกฎหมายอาญา”

                                   (รำชกิจจำนุเบกษำ ๑๕ ธันวำคม ๒๕๔๘ เล ม ๑๒๒ ตอนที่ ๑๑๘ ง หน ำ ๗-๘)


                       แม้ว่ำกฎหมำยรัฐไทยตีตรำว่ำกำรท ำแท้งเป็นอำชญำกรรม แต่อย่ำงน้อยที่สุดถือว่ำ ยังคุ้มครอง

               สิทธิในกำรตัดสินใจว่ำจะมีบุตรหรือไม่และจะมีเมื่อใด (Rights to Decide Whether or When to Have

               Children or Rights to Self-determination) อยู่บ้ำง ตำมข อบังคับแพทยสภำข้อ ๓ ที่ยังให้อ ำนำจของ
               ผู้หญิงในกำรตัดสินใจและยินยอม และเพื่อควำมปลอดภัยของหญิงที่ยินยอมท ำแท้งผู้ที่จะท ำแท้งให้ได้จึง

               ต้องเป็นแพทย์ ตำมข อบังคับ ข้อ ๔ คือ ต้องเป็นผู้ ประกอบวิชำชีพเวชกรรมตำมกฎหมำย และท ำใน

               สถำนพยำบำลตำม ข้อ ๗ ซึ่งถือว่ำเป็นกำรคุ้มครองสิทธิในกำรดูแลและป้ องกันสุขภำพ (Rights to Health

               Care  and  Health  Protection) อย่ำงไรก็ตำมเป็นกำรสร้ำงข้อจ ำกัดกำรท ำแท้ง ยุติกำรตั้งครรภ์ให้รัดกุม

               เท่ำนั้น และเป็นกำรปกป้ องคุ้มครองแพทย์ไม่ให้กำรท ำแท้งเป็นอำชญำกรรมมำกกว่ำ คุ้มครองสิทธิของ
               เยำวชนหญิงตั้งครรภ์ ดังนั้นข อบังคับแพทยสภำจึงไม่ได้มีบทข้อห้ำมถึงกำรปฏิเสธกำรยุติกำรตั้งครรภ์

               แพทย์ผู ประกอบวิชำชีพเวชกรรม

                       โดยสรุปแล้วพบว่ำ บทกฎหมำยต่ำงๆ ของรัฐไทย มีควำมพยำยำมอย่ำงยิ่งต่อกำรคุ้มครองสิทธิ

               เด็กและเยำวชน ในฐำนะประชำชนพลเมืองของรัฐ ซึ่งเป็นกำรมุ่งเน้นในประเด็นควำมรุนแรง ทำรุณกรรม
               กำรบังคับ และกำรเลือกปฏิบัติ รวมไปถึงสิทธิในกำรพัฒนำยกระดับชีวิต ควำมเป็นอยู่ผ่ำนกำรศึกษำ แต่

               ไม่ได้มุ่งให้ควำมส ำคัญถึงกำรอยู่ในวัยเจริญพันธุ์ อนำมัยเจริญพันธุ์ และสิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์ของเด็ก

               และเยำวชน น ำไปสู่กำรไม่มีกฎหมำย บทบัญญัติในกำรคุ้มครองสิทธิของเยำวชนหญิงตั้งครรภ์ ในกำรดูแล

               และป้ องกันสุขภำพ ในกำรตัดสินใจว่ำจะมีบุตรหรือไม่และจะมีเมื่อใด กำรเข้ำถึงบริกำร ควำมรู้ส ำหรับยุติ
               กำรตั้งครรภ์ ยิ่งไปกว่ำนั้น กำรท ำแท้งหรือยุติกำรตั้งครรภ์ยังถูกบัญญัติในฐำนะอำชญำกรรมอย่ำงหนึ่งที่มี

               บทลงโทษชัดเจน และอยู่บนกำรตีควำมของแพทย์และเจ้ำหน้ำที่จำกภำครัฐเท่ำนั้น ไม่ใช่กำรตัดสินใจของ

               เยำวชนหญิงผู้ตั้งครรภ์ ทั้งๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของสิทธิมนุษยชนตำมปฏิญญำสำกลว่ำด้วยสิทธิมนุษยชน,

               กติกำระหว่ำงประเทศว่ำด้วยสิทธิทำงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม, อนุสัญญำว่ำด้วยกำรขจัดกำรเลือก

               ปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ,  อนุสัญญำว่ำด้วยสิทธิเด็ก,  แผนปฏิบัติกำรประชำกรและกำรพัฒนำ,
               แผนปฏิบัติเพื่อควำมก้ำวหน้ำของสตรี



               ๒.๔ มาตรการของภาครัฐและภาคสังคมต่อเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์โดยไม่พร้อม





                                                                                                       ๕๕
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61