Page 60 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 60
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดตั้งศูนย์กำรเรียนรู้ด้ำนสุขภำพในชุมชน และสร้ำง บุคคลต้นแบบด้ำนสุขภำพอนำมัย
หรือ “อัศวินอนำมัย” ในกลุ่มนักเรียนและวัยรุ่น และในระดับภำคี เช่น สถำนศึกษำ หน่วยงำนสำธำรณสุข
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) หน่วยงำนภำครัฐและเอกชน NGO สื่อมวลชน ที่จะต้องพัฒนำ
ศักยภำพ มีโรงเรียนต้นแบบตำมมำตรฐำน สถำนบริกำรสร้ำงควำมเป็นมิตรกับวัยรุ่นในกำรบริกำร มีเวที
ประชำคมพัฒนำสุขภำพนักเรียนและวัยรุ่น
อย่ำงไรก็ตำมในกำรพัฒนำสุขภำพกำรด ำเนินกำรต่ำงๆ จะต้องอยู่ภำยใต้ “กรอบแนวคิดกำร
พัฒนำสุขภำพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๔” ซึ่งในกำรวิเครำะห์และประเมินสถำนกำรณ์กำร
พัฒนำสุขภำพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ภำคประชำชน พบว่ำมีประเด็นพฤติกรรมทำงเพศ ซึ่งหมำยรวมถึง
กำรตั้งครรภ์และกำรมีเพศสัมพันธ์ในกลุ่มผู้อำยุน้อย กำรไม่ใช้ถุงยำงขณะมีเพศสัมพันธ์ กำรติดโรคติดต่อ
ทำงเพศสัมพันธ์ ซึ่งขณะเดียวกัน กรมอนำมัย กระทรวงสำธำรณสุขก็ได้ก ำหนด “แผนที่ทางเดิน
ยุทธศาสตร์การป้ องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ภายใน พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๖” (กรมอนำมัย กระทรวง
สำธำรณสุข, ๒๕๕๔) ซึ่งแผนที่ยุทธศำสตร์ (Strategic Route Map) เป็นเครื่องมือสื่อสำรให้ทุกองค์กรเห็น
ทิศทำงของกำรพัฒนำงำนร่วมกัน เพื่อบริหำรจัดกำรยุทธศำสตร์ท้องถิ่น ชุมชน องค์กรสร้ำงขึ้นหรือมีอยู่
แล้วให้เกิดควำมส ำเร็จ โดย SRM ฉบับนี้อยู่ภำยใต้วิสัยทัศน์ที่พยำยำมให้เยำวชน “ตระหนักคุณค่ำของ
ตัวเอง” รู้จักหลีกเลี่ยงปฏิเสธกำรมีเพศสัมพันธ์ รู้จักกำรป้ องกันกำรตั้งครรภ์ และอยู่ในครอบครัวที่เข้มแข็ง
ซึ่งมีจุดหมำยปลำยทำงในระดับประชำชนที่วัยรุ่นตระหนักและมีทักษะกำรป้ องกันกำรตั้งครรภ์ มีควำม
ภำคภูมิใจ มีค่ำนิยมเกี่ยวกับเพศสัมพันธ์ที่เหมำะสมและปลอดภัย เชื่อมั่นในตนเองมีจิตอำสำ ครอบครัวมี
กำรเฝ้ ำระวังพฤติกรรมวัยรุ่น ครอบครัวมีควำมเข้มแข็ง และชุมชนมีแผนงำนหรือโครงกำรป้ องกันกำร
ตั้งครรภ์วัยรุ่น สร้ำงระบบกำรเผ้ำระวังพฤติกรรมทำงเพศของวัยรุ่นในชุมชน สร้ำงมำตรกำรทำงสังคมใน
ชุมชน และในระดับภำคี มีจุดหมำยปลำยทำงที่ กระทรวงศึกษำธิกำรมีนโยบำยและแนวทำงกำรสอน
เพศศึกษำที่ชัดเจน, กระทรวงสำธำรณสุขสนับสนุนวิชำกำร บุคลำกรและบริกำรที่เป็นมิตรแก่วัยรุ่น
เห็นได้ชัดว่ำ “แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น” (กรมอนำมัย
กระทรวงสำธำรณสุข, ๒๕๕๔) และโดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง“แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์
วัยรุ่นและเยาวชนอายุ ๑๐-๒๔ ปีภายในปี พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๖ (๔ ปี)” ที่เป็นอันเดียวกันกับ “แผนที่
ทางเดินยุทธศาสตร์การป้ องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น” (กรมอนำมัย กระทรวงสำธำรณสุข, ๒๕๕๔) ซึ่ง
มีจุดมุ่งหมำยส ำคัญและชัดเจนเพื่อที่จะให้วัยรุ่น/เยำวชนหญิงตั้งครรภ์น้อยลง ซึ่งเป็นมำตรกำรที่ภำครัฐพุ่ง
เป้ ำมำยังเนื้อตัวร่ำงกำยของเยำวชนหญิงมำกกว่ำชำย ในฐำนะผู้ตั้งครรภ์ ไม่เพียงเป็นกำรผลักภำระ แต่ยัง
เป็นกำรเลือกปฏิบัติทำงเพศ ที่ขัดกับหลักสิทธิมนุษยชน โดยมีกำรตั้งครรภ์ของเยำวชนหญิงเป็นบทสรุป
และดัชนีชี้วัดของปัญหำสุขภำพของวัยรุ่น โดยมองข้ำมกำรกระท ำของวัยรุ่นชำย และมองข้ำมสิทธิอนำมัย
เจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ที่มีสิทธิในกำรตัดสินใจว่ำจะมีบุตรหรือไม่และจะมีเมื่อใด และมีสิทธิในกำรดูแลและ
ป้ องกันสุขภำพ ของตนเอง
๕๙