Page 61 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 61
กำรพัฒนำประเด็นอนำมัยเจริญพันธุ์ในเยำวชนของรัฐยังคงเป็นเรื่องของกำรป้ องกันกำรตั้งครรภ์
ในเยำวชน ไม่ใช่กำรละเมิดสิทธิอนำมัยเจริญพันธุ์ของเยำวชนและสร้ำงกำรยอมรับ เคำรพสิทธิอนำมัย
เจริญพันธุ์ มำกไปกว่ำนั้น มำตรกำรของรัฐยังผลิตซ ้ำทัศนคติกำรตั้งครรภ์ของเยำวชนในแง่ลบ และเป็นบ่อ
เกิดของปัญหำสังคม ไม่มีศักยภำพในกำรปฏิเสธและรู้จักกันป้ องกัน ไม่รู้จัก “คุณค่ำของตนเอง” ซึ่งเป็น
กำรละเมิดสิทธิในกำรมีชีวิตอยู่อย่ำงมีศักดิ์ศรีควำมเป็นมนุษย์ ของแม่วัยรุ่นที่ถูกรัฐผลักไปอยู่ในกลุ่มที่เป็น
ปัญหำสังคม โดยไม่ค ำนึงว่ำ เยำวชนหญิงคนนั้นตั้งครรภ์ด้วยควำมพร้อมหรือไม่พร้อม ถูกบังคับขู่เข็ญ
ขืนใจหรือไม่
ด้วยควำมตระหนักถึงประเด็นเยำวชนหญิงตั้งครรภ์ไม่พร้อม ซึ่งหมำยถึงกำรตั้งครรภ์ในวัยเรียน ไม่
เพียงน ำไปสู่ โครงการพัฒนาระบบเฝ้ าระวังในงานอนามัยการเจริญพันธุ์และงานสาธารณสุข
ส ำหรับกลุ่มประชำกรวัยรุ่นและวัยท ำงำนที่เริ่มต้นในปีพ.ศ. ๒๕๕๑ ที่เป็นกำรจัดอบรมโดยมีวิทยำกรเป็น
ผู้อ ำนวยกำรกองอนำมัยเจริญพันธุ์ แต่ยังน ำไปสู่ ค่ายแกนน าวัยรุ่น โดยส ำนักอนำมัยเจริญพันธุ์
กรมอนำมัย กระทรวงสำธำรณสุข (ส ำนักอนำมัยเจริญพันธุ์,๒๕๕๓) ที่คู่มือการอบรมค่ายแกนน าวัยรุ่น
ผลิตซ ้ำมำจำกค่ำยแกนน ำมุมเพื่อนใจวัยรุ่น ภำยใต้จุดประสงค์ให้วัยรุ่นมีควำมรู้อนำมัยเจริญพันธุ์
สำมำรถถ่ำยทอดให้ค ำปรึกษำเบื้องต้น กับเพื่อนวัยรุ่นด้วยกันเองเพื่อลดควำมเสี่ยงต่อกำรมีเพศสัมพันธ์
เพื่อให้วัยรุ่นเรียนรู้ที่จะปฏิเสธกำรมีเพศสัมพันธ์
กิจกรรมค่ำยเป็นกำรอบรมเด็กอำยุ ๑๓ ปีขึ้นไป ๔๐ คน มีกำรแบ่งกลุ่มออกเป็น ๘ คน ซึ่งใน แผน
กิจกรรมที่ ๒ “จินตนำกำรรัก” ที่ให้วิทยำกรสรุปประเด็นว่ำ กำรที่วัยรุ่นมีคนรักมักน ำไปสู่กำรมีเพศสัมพันธ์
โดยไม่ตั้งใจ หำกอยู่ในที่ลับตำ เพรำะเป็นวัยที่มีแรงขับทำงเพศสูงกว่ำวัยอื่น ซึ่งกำรมีเพศสัมพันธ์น ำไปสู่
ปัญหำต่ำงๆ เป็นจ ำนวนมำก เช่น ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ต้องออกจำกโรงเรียน ถูกนินทำ พ่อแม่เสียใจ และ
ติดโรคติดต่อทำงเพศสัมพันธ์ กำรมีคนรักหรือแฟนไม่ใช่สิ่งที่ผิดแต่ต้องมีอย่ำงฉลำดและสร้ำงสรรค์ และ
ควรเรียนรู้นิสัยใจคอในระยะยำวก่อนตัดสินใจคบหำกัน เป็นแฟน เพรำะกำรรู้จักกันในระยะสั้นๆ ก่อนคบ
เป็นแฟนน ำไปสู่ควำมผิดพลำด (ส ำนักอนำมัยเจริญพันธุ์, ๒๕๕๓, น. ๘-๙)
นอกจำกนี้ในค่ำยมีกิจกรรมให้วัยรุ่นอธิบำยควำมคิดควำมเชื่อ ทัศนคติต่อเรื่องเพศ และ
เพศสัมพันธ์ในประเด็นต่ำงๆ เช่น กำรมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน, กำรเช่ำหอพักอยู่ร่วมกัน, กำรที่แฟนเคยมี
เพศสัมพันธ์มำก่อน, กำรพกถุงยำงอนำมัย, กำรมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้ องกัน ซึ่งทุกคนในกิจกรรมจะต้อง
เก็บเป็นควำมลับ ไม่น ำสิ่งที่ได้ยินในด้ำนลบไปพูดข้ำงนอกหรือกับบุคคลอื่นๆ (ส ำนักอนำมัยเจริญพันธุ์,
๒๕๕๓, น. ๑๘)
จำกคู่มือกำรอบรมค่ำยแกนน ำวัยรุ่น พบว่ำวิทยำกรถูกก ำหนดให้สรุปประเด็นให้วัยรุ่นว่ำ ด้วย
ฮอร์โมนที่แตกต่ำงกันท ำให้ ผู้ชำยคิดเรื่องอีโรติค (Erotic) ขณะที่ผู้หญิงคิดเรื่องโรแมนติค (Romantic ) ซึ่ง
เห็นได้ชัดว่ำคู่มือและหน่วยงำนของรัฐเองขำดควำมเข้ำใจเรื่องเพศภำวะ (gender) เพศสรีระ (sex) และ
เพศวิถี (sexuality) อย่ำงชัดเจน ที่ไม่เพียงอธิบำยว่ำพฤติกรรมและ “ควำมเป็นเพศ” เป็นเรื่องธรรมชำติทำง
๖๐