Page 34 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 34

แต่งงำนแล้ว โดยไม่ได้ให้ควำมส ำคัญกับวัยรุ่นหรือเยำวชนชำย/หญิงซึ่งมีเพศสัมพันธ์เช่นกัน” (Population

               and Development Review, No. 8/2008, p.22) นั่นหมำยถึงสำเหตุที่ท ำให้มีอัตรำกำรท ำแท้งในหมู่วัยรุ่น
               และเยำวชนหญิงสูงเนื่องจำกกำรขำดกำรบรรลุสิทธิในกำรดูแลและป้ องกันสุขภำพ (Right to Health Care

               and Health Protection) ด้ำนกำรเข้ำถึงกำรวำงแผนครอบครัว ซึ่งเป็นสิทธิที่บริกำรของรัฐควรจัดให้อย่ำง

               ทั่วถึง เพื่อให้ผู้หญิงเข้ำถึงควำมรู้ ข้อมูลข่ำวสำร (Right to Information and Education) ที่ถูกต้องของวิธี

               และกำรบริกำรด้ำนกำรคุมก ำเนิด ซึ่งถึงแม้จะมีทำงเลือกให้กับเยำวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อมสำมำรถยุติ

               กำรตั้งครรภ์ด้วยกำรท ำแท้งได้ก็ตำม แต่หำกเยำวชนหญิงสำมำรถเข้ำถึงข้อมูล ควำมรู้เรื่องวิธีกำร
               คุมก ำเนิดที่ถูกต้องและบริกำรด้ำนกำรคุมก ำเนิด กำรมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยและป้ องกัน จะท ำให้พวก

               เธอมีทำงออก/ทำงเลือกมำกขึ้น จะเห็นได้ว่ำ มีควำมไม่เท่ำเทียมกันในกำรเข้ำถึงสิทธิด้ำนกำรดูแลและ

               ป้ องกันสุขภำพของประชำชน ซึ่งลดหลั่นไปตำมวัยและเพศ

                       ขณะเดียวกัน ด้ำนสังคมและวัฒนธรรมพบว่ำ อิทธิพลควำมคิดควำมเชื่อตำมของลัทธิขงจื้อได้เข้ำ

               มำมีบทบำทต่อกฎหมำย กำรให้ควำมคุ้มครองผู้หญิงและเด็ก เพรำะมองว่ำเป็นกลุ่มที่มีควำมเปรำะบำงจึง
               ต้องได้รับกำรปกป้ องคุ้มครอง ไม่ได้เป็นกำรดูแลเพื่อปกป้ องคุ้มครองสิทธิในฐำนะที่เป็นประชำกรในสังคม

               ในระดับที่เท่ำเทียมกันกับผู้ชำย ทั้งนี้เพรำะสังคมและวัฒนธรรมของประเทศเวียดนำมได้ก ำหนดบทบำท

               หน้ำที่กำรเลี้ยงดูบิดำมำรดำให้เป็นของลูกชำยโดยเฉพำะลูกชำยคนโต ในสังคมที่ได้รับอิทธิพลลัทธิขงจื๊อ

               นั้นจะให้ควำมส ำคัญกับกำรมีลูกชำยสูงมำก เพรำะหวังพึ่งให้ลูกชำยเป็นผู้เลี้ยงดูยำมแก่เฒ่ำ ซึ่งเป็นวิถี
               ปฏิบัติที่เป็นกลไกกำรสร้ำงควำมมั่นคงในยำมสูงอำยุในสังคมที่รัฐไม่มีบทบำท หรือมีบทบำทไม่มำกนักใน

               กำรดูแลรับผิดชอบกำรดูแลผู้สูงอำยุ และจะเป็นผู้สืบทอดเชื้อสำยของตระกูล ตลอดจนเป็นผู้น ำกำร

               ประกอบพิธีกรรมต่ำง ๆ ของครอบครัว นอกจำกนี้ สังคมที่สืบเชื้อสำยทำงพ่อ (Patrilineal)  ต้องกำรมีลูก

               ชำยไว้สืบสกุล กำรไม่มีลูกชำยสืบตระกูลเสมือนเป็นกำรไม่สำมำรถท ำหน้ำที่แก่วงศ์ตระกูลได้อย่ำง
               สมบูรณ์ครบถ้วน และเป็นกำรสิ้นสุดวงศ์ตระกูลโดยปริยำย ส่วนลูกสำวนั้นเมื่อแต่งงำนแล้วก็จะถือว่ำ เป็น

               คนของครอบครัวสำมี ต้องตัดขำดจำกครอบครัวเดิมของตน (กำญจนำ ตั้งชลทิพย์, ๒๕๕๑)

                       กล่ำวโดยภำพรวม บทบัญญัติในกฎหมำยได้สะท้อนแนวควำมคิดควำมเชื่อดังกล่ำว ดังจะเห็นได้

               จำกกฎหมำย Law  on  Child  Protection,  Care  and  Education ซึ่งโครงสร้ำงครอบครัวในอุดมคติจะ

               ประกอบด้วยคนในหลำยรุ่นอำศัยอยู่ในครัวเรือนเดียวกัน โดยสมำชิกในครอบครัวแต่ละคนในครอบครัวจะ
               มีระดับควำมส ำคัญไปตำมอำยุและเพศ พ่อแม่ ผู้ปกครองจะมีอ ำนำจเบ็ดเสร็จเหนือบุตร (Zhang, H.X., &

               Locke,  C.  2002) กำรบัญญัติเรื่องหน้ำที่ของเด็ก โดยระบุให้เด็กต้องรัก เคำรพ และเชื่อฟังผู้ใหญ่ อำจ

               ส่งผลต่อเรื่องกำรเข้ำถึงสิทธิของเด็กที่อำจจะไม่ได้รับกำรเคำรพหรือคุ้มครองจำกกฎหมำยอย่ำงเต็มที่

               โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งเด็กผู้หญิง ตำมแนวควำมคิดควำมเชื่อลัทธิขงจื๊อ ซึ่งเน้นควำมกตัญญูเป็นส ำคัญ
               โดยเฉพำะต่อบุพกำรีผู้ให้ก ำเนิด และต่อบรรพบุรุษ กำรย้อนแย้งของกฎหมำย และบริบททำงสังคมและ








                                                                                                       ๓๓
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39