Page 33 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 33

จะมีกำรล ำดับควำมส ำคัญของสมำชิกในครอบครัวจะเป็นไปตำมควำมอำวุโสและเพศของสมำชิก และ

               พ่อแม่ผู้ปกครองมีอ ำนำจเบ็ดเสร็จเหนือบุตรของตน (Zhang,  H.X.,  &  Locke,  C.  2002) ตำมควำมคิด
               ควำมเชื่อของลัทธิขงจื้อ ซึ่งให้ควำมส ำคัญกับลูกชำยมำกกว่ำลูกสำว




                 Law on Protection of People’s Health

                   กฎหมำยมีบทบัญญัติเรื่องสิทธิในกำรดูแลและป้ องกันสุขภำพ (Right  to  Health  Care  and  Health
               Protection)  เกี่ยวกับกำรวำงแผนครอบครัวมำตั้งแต่ปี ๑๙๘๙ ในหมวดที่ ๘ กำรวำงแผนครอบครัวและ

               สุขภำพของมำรดำและบุตร มำตรำ ๔๓ ระบุไว้ดังนี้

                       “บุคคลมีหน้าที่ที่จะต้องมีการวางแผนครอบครัว มีสิทธิที่จะเลือกใช้วิธีการคุมก าเนิดได้ด้วยตนเอง

                   แต่ละคู่ควรจะมีบุตรหนึ่งหรือสองคน โดยที่รัฐจะใช้นโยบายและมาตรการที่จูงใจ และสร้าง
                   สภาพแวดล้อมที่จ าเป็นส าหรับทุกคน การบริการด้านวัฒนธรรมและการศึกษาด้านสาธารณสุข

                   สื่อมวลชนและองค์กรด้านสังคมมีหน้าที่ที่จะต้องเผยแพร่และให้ความรู้แก่ประชาชนและโปรแกรมการ

                   วางแผนครอบครัวส าหรับประชาชน”


                       และอนุญำตให้มีกำรท ำแท้งและกำรปรับประจ ำเดือนได้ โดยในมำตรำ ๔๔ ระบุถึงสิทธิของผู้หญิง

               ในกำรตรวจภำยในและกำรรักษำ กำรท ำแท้ง และกำรปรับประจ ำเดือน อย่ำงไรก็ตำม Hoang  Ba  Thinh

               (2009)  ระบุว่ำ  กำรท ำแท้งและกำรปรับประจ ำเดือนไม่ได้เป็นวิธีหนึ่งในกำรวำงแผนครอบครัว แต่เป็น

               บริกำรด้ำนสำธำรณสุขเพื่อยุติกำรตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ และเป็นควำมล้มเหลวของกำรคุมก ำเนิด สังคม

               ยังมีอคติต่อกำรท ำแท้งของผู้หญิงที่ยังไม่ได้แต่งงำน น ำไปสู่กำรชะลอกำรท ำแท้งและกำรเลือกที่จะไปท ำ
               แท้งที่คลินิกเอกชนเพื่อรักษำควำมลับ เหตุผลนี้เองท ำให้เกิดภำวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรำยต่อชีวิตของ

               ผู้หญิง แม้ว่ำนโยบำยด้ำนกำรวำงแผนประชำกร หัวข้อ C มำตรำ ๑๓ บัญญัติไว้ว่ำ “ผู้หญิงอายุตั้งแต่ ๑๕

               ปีขึ้นไปจะได้รับวิธีการคุมก าเนิด รวมถึงบุคคลที่ยังไม่ได้แต่งงานอย่างเป็นทางการด้วย” (NCPFP-UNFPA,
               1996:  513) และกฎหมำยกำรป้ องกันด้ำนสุขภำพจะอนุญำตให้บุคคลมีสิทธิที่จะเลือกใช้วิธีคุมก ำเนิดได้

               ด้วยตนเอง แต่จำกกำรส ำรวจพบว่ำ อัตรำกำรท ำแท้งในหมู่วัยรุ่นและเยำวชนหญิงมีอัตรำที่สูง ประมำณ

               ร้อยละ ๒๐-๓๐ ของจ ำนวนกำรท ำแท้งของประเทศเวียดนำมในแต่ละปี (Vy and Hoa, 2007: 28)

                       Hoang  Ba  Thin  (2009) พบว่ำ สำเหตุที่ท ำให้อัตรำกำรท ำแท้งในหมู่เยำวชนหญิงสูง เป็นผลมำ

               จำกกำรมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ป้ องกันของเยำวชน ไม่มีควำมรู้เรื่องกำรคุมก ำเนิดและกำรมีเพศสัมพันธ์ที่
               ปลอดภัย  รวมถึงกำรเข้ำไม่ถึงบริกำรด้ำนสุขภำพ นอกจำกนี้ Mr. Ian Howie (2008) กล่ำวในกำรประชุม

               ประชำกรโลกเมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎำคม ๒๐๐๘ เรื่องข้อจ ำกัดของกำรบริกำรด้ำนกำรวำงแผนครอบครัว

               ส ำหรับวัยรุ่นและเยำวชนหญิงของเวียดนำมไว้ว่ำ “ระบบกำรบริกำรด้ำนสุขภำพของประเทศเวียดนำมเน้น

               ไปที่กำรให้ข้อมูลและกำรบริกำรด้ำนอนำมัยเจริญพันธุ์และกำรวำงแผนครอบครัวแก่คู่สำมีภรรยำที่




                                                                                                       ๓๒
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38