Page 32 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 32
โดยกฎหมำยนี้มีกำรระบุถึงเรื่องกำรไม่เลือกปฏิบัติต่อเด็กในมำตรำ ๔
“เด็ก ไม่ว่าจะเป็นเด็กหญิง หรือเด็กชาย เกิดในหรือนอกสมรส ทางกายภาพ หรือรับมา
เลี้ยงดู เกิดจากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือทั้ง ๒ ฝ่ายจากการแต่งงาน โดยไม่ค านึงถึงสัญชาติ ความเชื่อ
ศาสนา ภูมิหลังทางสังคม และฐานะ รวมไปถึงความคิดเห็นทางการเมืองของบิดามารดา หรือ
ผู้ปกครอง ต้องได้รับการคุ้มครอง การดูแล และการศึกษา และมีสิทธิตามที่กฎหมายระบุ”
มำตรำ ๕ ควำมรับผิดชอบในกำรคุ้มครองเด็ก กำรดูแล และกำรศึกษำ ระบุว่ำ กำรคุ้มครองเด็ก
ดูแล และกำรศึกษำ เป็นควำมรับผิดชอบของครอบครัว โรงเรียน รัฐ สังคม และพลเมือง ในกิจกรรมทุกด้ำน
ที่เกี่ยวกับเด็กของหน่วยงำน องค์กร ครอบครัว หรือบุคคล ให้ค ำนึงถึงประโยชน์ของเด็กเป็นอันดับแรก โดย
รัฐสนับสนุนและสร้ำงสภำพของหน่วยงำน องค์กร ครอบครัว หรือบุคคลที่บ้ำนและนอกบ้ำนเพื่อเอื้อต่อผล
กำรคุ้มครองเด็ก เอำใจใส่ และกำรศึกษำ
สิทธิของเด็กระบุไว้ในมำตรำ ๖ ว่ำ สิทธิของเด็กต้องได้รับกำรเคำรพและเด็กสำมำรถใช้สิทธิของ
ตนได้ กำรกระท ำใดที่เป็นกำรล่วงละเมิดสิทธิเด็ก ท ำให้เกิดควำมรุนแรงต่อกำรพัฒนำตำมวัยของเด็ก
จะต้องได้รับกำรลงโทษตำมกฎหมำย ในหมวดที่ ๒ ของกฎหมำยนี้จะว่ำด้วยเรื่องสิทธิขั้นพื้นฐำนและ
หน้ำที่ของเด็ก โดยมำตรำ ๑๔ สิทธิในกำรได้รับกำรเคำรพ และชีวิต ร่ำงกำย เกียรติ และศักดิ์ศรีของเด็ก
ต้องได้รับกำรพิทักษ์โดยครอบครัวของเด็ก รัฐและสังคม
ส ำหรับสิทธิในกำรดูแลและป้ องกันสุขภำพ (Right to Health Care and Health Protection) ระบุ
ไว้ในมำตรำ๑๕ ว่ำด้วยเรื่องสิทธิในกำรดูแลสุขภำพ และสิทธิในกำรศึกษำ (Right to Information and
Education) ในมำตรำ ๑๖ โดยระบุว่ำ เด็กมีสิทธิในกำรศึกษำ และเด็กสำมำรถศึกษำในระดับ
ประถมศึกษำในสถำนศึกษำของรัฐโดยไม่ต้องจ่ำยค่ำเล่ำเรียน และมำตรำ ๒๐ สิทธิในกำรได้รับข้อมูล
ข่ำวสำร กำรแสดงควำมคิดเห็น และกำรมีส่วนร่วมในกิจกรรมทำงสังคม กล่ำวคือ เด็กมีสิทธิในกำรได้รับ
ข้อมูลข่ำวสำรที่เหมำะสมกับกำรพัฒนำของเด็ก กำรแสดงควำมคิดเห็นและออกเสียงในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ
เด็ก
ขณะเดียวกัน กฎหมำยนี้ได้มีกำรบัญญัติเรื่องหน้ำที่ของเด็กไว้ใน มำตรำ ๒๑ ดังต่อไปนี้:
“๑. รัก เคารพ และเชื่อฟังปู่ย่าตายาย บิดามารดา เคารพคุณครู สุภาพต่อผู้ใหญ่ รักผู้อ่อน
เยาว์กว่า และปรองดองกับเพื่อน ช่วยเหลือผุ้อาวุโส คนพิการ และผู้ไร้ซึ่งความสามารถ ผู้ที่อยู่ใน
สภาพยากล าบากตามศักยภาพของเด็ก”
จะเห็นได้ว่ำ แม้กฎหมำยจะให้กำรคุ้มครองสิทธิของเด็ก โดยให้ค ำนึงถึงสิทธิของเด็กเป็นอันดับ
แรก แต่กำรบัญญัติเรื่องหน้ำที่ของเด็ก อำจส่งผลต่อกำรก ำจัดสิทธิของเด็กในกำรมีชีวิตอยู่อย่ำงมีศักดิ์ศรี
ควำมเป็นมนุษย์ และกำรถูกเลือกปฏิบัติ หรือท ำให้เด็กไม่สำมำรถที่จะใช้สิทธิของตนได้อย่ำงเต็มที่
โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งเด็กหญิง/เยำวชนหญิง เนื่องจำกบริบททำงสังคมและวัฒนธรรมของประเทศเวียดนำม
๓๑