Page 30 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 30

๒.๒  กฎหมายของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่เกี่ยวข้องกับเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์โดย

               ไม่พร้อม
                       ในประเด็นสิทธิมนุษยชน นอกจำกปฏิญญำสำกลสิทธิมนุษยชน (The Universal Declaration of

               Human Rights, 1948) ซึ่งแต่ละประเทศที่เป็นภำคีจะต้องปฏิบัติตำม มำกไปกว่ำนั้น เวียดนำม ฟิลิปปินส์

               อินโดนีเซีย ซึ่งรวมไปถึงประเทศไทย ต่ำงยังต้องปฏิบัติและด ำเนินกำรภำยในขอบเขตอ ำนำจหน้ำที่ตำม
               ข้อก ำหนดของคณะกรรมำธิกำรสิทธิมนุษยชนระหว่ำงรัฐบำลอำเซียน  หรือ ASEAN Intergovernmental

               Commission  on  Human  Rights  (AICHR) ที่ก่อตั้งขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๕๒ ในฐำนะองค์กรที่ปรึกษำของ

               ASEAN ซึ่งเป็นกำรสนับสนุนส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐำนและเสรีภำพของประชำชน

               อำเซียน ตำมปฏิญญำสำกลสิทธิมนุษยชน             และปฏิญญำและแผนปฏิบัติกำรเวียนนำ (Vienna
               Declaration  and  Program  of  Action,  1993  ) และตรำสำรว่ำด้วยสิทธิมนุษยชนระหว่ำงประเทศที่ซึ่ง

               ประเทศสมำชิกอำเซียนเป็นภำคี   เช่น หลักกำรข้อ ๒.๒ กำรเคำรพหลักกำรด้ำนสิทธิมนุษยชนระหว่ำง

               ประเทศ รวมถึงควำมเป็นสำกล ควำมไม่สำมำรถแบ่งแยกได้ กำรพึ่งพำอำศัยกันและควำมสัมพันธ์ที่ไม่อำจ

               แยกจำกกันได้ของสิทธิมนุษยชนและเสรีภำพขั้นพื้นฐำนทั้งมวล รวมถึงควำมเป็นกลำง กำรยึดถือวัตถุวิสัย
               กำรไม่เลือกปฏิบัติ  และกำรหลีกเลี่ยงกำรเลือกปฏิบัติและท ำให้เป็นประเด็นทำงกำรเมือง  และ ๒.๓ ที่

               ตระหนักว่ำควำมรับผิดชอบขั้นพื้นฐำนในกำรส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภำพขั้นพื้นฐำน

               เป็นของรัฐสมำชิกแต่ละรัฐ  (AICHR,  2009)  ซึ่งเป็นหลักกำรที่ครอบคลุมไปถึงอนำมัยเจริญพันธุ์ของ

               ประชำชนในแต่ละประเทศภำคี ที่รัฐบำลของแต่ละประเทศจะละเลยไม่ได้ และกฎหมำยของแต่ละประเทศ

               จะละเมิด เพิกเฉยต่อกำรคุ้มครองส่งเสริมสิทธิมนุษยชนสิทธิอนำมัยไม่ได้
                       ในกำรศึกษำครั้งนี้ได้ยกตัวอย่ำงของกฎหมำยของแต่ละประเทศภำคีมำ ๓ ประเทศ ซึ่งเป็น

               กฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับอนำมัยเจริญพันธุ์ของเยำวชนหญิงตั้งครรภ์โดยตรง ซึ่งจำกกำรศึกษำพบว่ำ

               กฎหมำยของทั้ง ๓ ประเทศสะท้อนให้เห็นถึงบริบทที่แตกต่ำงกันมำกทั้งในมิติด้ำนสังคม วัฒนธรรมและ

               ศำสนำ ซึ่งกรอบวัฒนธรรมควำมเชื่อที่แตกต่ำงกันซึ่งล้วนมีอิทธิพลต่อกำรบัญญัติกฎหมำยที่บังคับใช้

               ภำยในรัฐ ดังนี้


               เวียดนาม
                       ประเทศเวียดนำมหรือสำธำรณรัฐสังคมนิยมเวียดนำม ปกครองด้วยระบอบสังคมนิยม มีประชำกร

               ประมำณ ๙๑ ล้ำนคน ประชำกรร้อยละ ๘๐ ถือว่ำตนเองไม่มีศำสนำ ที่เหลือนั้นนับถือลัทธิขงจื้อ เต๋ำ พุทธ

               มหำยำน โรมันคำทอลิก โปรแตสเตนท์ และ อื่นๆ โดยมีประชำกรในวัย ๐-๑๔ ปีประมำณร้อยละ ๒๕.๒

               และวัย ๑๕-๖๔ ประมำณร้อยละ ๖๙.๓ (CIA World Factbook: Vietnam, 2011) ซึ่งลัทธิขงจื้อมีอิทธิพล
               ต่อระบบควำมคิดควำมเชื่อและรำกเหง้ำทำงสังคมและวัฒนธรรม รวมถึงกฎหมำยของประเทศเวียดนำม

               อย่ำงไรก็ตำมเวียดนำมเป็นประเทศแรกในเอเชียและเป็นประเทศที่ ๒ ในโลก ที่ลงนำมในอนุสัญญำว่ำด้วย






                                                                                                       ๒๙
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35