Page 36 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 36
ของฟิลิปปินส์ก็ยังไม่ให้ควำมส ำคัญกับกำรจัดบริกำรวำงแผนครอบครัว แม้ว่ำร่ำงกฎหมำยอนำมัยเจริญพันธุ์
ของฟิลิปปินส์ผ่ำนกำรท ำประชำพิจำรณ์มำหลำยครั้ง และมีกำรน ำมำอภิปรำยตลอดทั้งปี แต่ถูกถอดออก
จำกรำยกำรร่ำงกฎหมำยที่ส ำคัญเร่งด่วน (มูลนิธิสร้ำงควำมเข้ำใจเรื่องสุขภำพผู้หญิง, ๒๕๕๓)
กฎหมำยที่ท ำกำรวิจัยเชิงเอกสำร ได้แก่ Family Code of the Philippines, the Child and Youth
Welfare Code, Population Policy Manual and Laws and Civil Code of the Philippines, และ An Act
Providing for the Magna Carta of Women (2008) และรำยงำนกำรวิจัยเชิงวิชำกำร
กฎหมำยรัฐธรรมนูญของประเทศฟิลิปปินส์ระบุเรื่องสิทธิในกำรดูแลและป้ องกันสุขภำพ (Right to
Health Care and Health Protection) ไว้ใน Executive order no. 307 หมวด ๑๕ มำตรำ ๒ ว่ำ “รัฐ
จะต้องปกป้ องและสนับสนุนสิทธิด้านสุขภาพของประชาชนและปลูกฝังความตระหนักรู้เรื่องสุขภาพในหมู่
ประชาชน” หมวด ๓ มำตรำ ๑๕ ระบุอย่ำงชัดเจนว่ำ
“รัฐจะต้องพิทักษ์
๑. สิทธิของสามีภรรยาในการสร้างครอบครัวตามความเชื่อทางศาสนาและความต้องการของ
บิดามารดาที่มีความรับผิดชอบ
๒. สิทธิของเด็กในการให้ความช่วยเหลือ ได้แก่ การดูแลเอาใจใส่อย่างเหมาะสมและด้าน
โภชนาการ การปกป้ องเป็นพิเศษจากการทอดทิ้ง การกระท าทารุณ การทารุณจิตใจ การ
แสวงหาผลประโยชน์ทุกรูปแบบของนโยบาย และโปรแกรมที่จะส่งผลกระทบต่อเด็ก
๓. สิทธิของครอบครัวด้านค่าจ้างและรายได้ของครอบครัว และ
๔. สิทธิของครอบครัวในการรวมตัวกันเพื่อเข้าร่วมในการวางแผนและการด าเนินงานนโยบาย
และโครงการที่จะส่งผลกระทบต่อครอบครัว”
โดยกำรวำงแผนครอบครัวต้องเป็นไปด้วยควำมสมัครใจ และเสรีภำพ
นอกจำกนี้ กฎหมำยต่ำงๆ ที่น ำมำศึกษำมีกำรบัญญัติถึงสิทธิด้ำนต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
ปรำกฏกำรณ์เยำวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ไดยไม่พร้อม ดังต่อไปนี้
Special Protection of Children against Child Abuse, Exploitation and Discrimination Act
กฎหมำยนี้บัญญัติสิทธิในกำรมีชีวิตอยู่อย่ำงมีศักดิ์ศรีควำมเป็นมนุษย์ (Right to Life) และกำรไม่ถูก
เลือกปฏิบัติไว้ว่ำ
“เด็ก หมายถึง ผู้ที่มีอายุต ่ากว่าสิบแปด (๑๘) ปี หรือผู้ที่ไม่สามารถดูแลตัวเองได้อย่างเต็มที่ หรือ
ป้ องกันตัวเองได้จากการถูกทารุณกรรม ทอดทิ้ง กระท าความรุนแรง การแสวงหาผลประโยชน์ หรือ
การเลือกปฏิบัติเนื่องจากการไร้ความสามารถด้านร่างกายและจิตใจหรืออยู่ในสภาวะไร้ความสามารถ”
๓๕