Page 38 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 38

จะต้องก ำหนดมำตรกำรเพื่อขจัดกำรเลือกปฏิบัติต่อเด็กผู้หญิงในด้ำนกำรศึกษำ สุขภำพ และโภชนำกำร

               และกำรพัฒนำทักษะ และข้อก ำหนดที่ ๓๕ ห้ำมไม่ให้มีกำรเลือกปฏิบัติต่อผู้หญิง เป็นต้น
                   ๒. สิทธิในกำรดูแลและป้ องกันสุขภำพ (Right to Health Care and Health Protection) สิทธิในกำร

               ได้รับข้อมูลข่ำวสำรและกำรศึกษำ (Right  to  Information  and  Education) ระบุไว้ใน ข้อก ำหนดที่ ๑๗

               สิทธิของผู้หญิงด้ำนสุขภำพ และอนำมัยเจริญพันธุ์ ผู้หญิงสำมำรถเข้ำถึงกำรบริกำรดังต่อไปนี้ (๑) อนำมัย

               ของแม่ ซึ่งรวมถึงบริกำรด้ำนสุขภำพก่อนและหลังคลอด เพื่อแก้ปัญหำกำรตั้งครรภ์และสุขภำพและ

               โภชนำกำรของทำรก (๓) กำรวำงแผนครอบครัวที่เป็นวิธีที่มีควำมรับผิดชอบ จริยธรรม ถูกกฎหมำย
               ปลอดภัย และได้ผล รวมถึงควำมร่วมมือระหว่ำงครอบครัวและรัฐเรื่องเพศศึกษำของเยำวชน และกำร

               ให้บริกำรด้ำนสุขภำพโดยปรำศจำกอคติ ตำมสิทธิขั้นพื้นฐำนและหน้ำที่ของบิดำมำรดำในกำรให้กำรศึกษำ

               แก่บุตรของตน แต่ในข้อที่ (๗) ระบุเรื่องกำรป้ องกันกำรท ำแท้งและกำรจัดกำรภำวะแทรกซ้อนที่เกี่ยวกับ

               กำรตั้งครรภ์ ซึ่งจะเห็นได้ว่ำกฎหมำยมีควำมย้อนแย้งกันเองในเรื่องสิทธิที่ผู้หญิงและเยำวชนหญิงพึงจะ

               ได้รับอย่ำงเต็มที่ในเนื้อตัวร่ำงกำยของตนเอง
                   ๓. สิทธิในกำรได้รับข้อมูลข่ำวสำรและกำรศึกษำ (Right to Information  and Education)  ระบุไว้ใน

               ข้อก ำหนดที่ ๒๔ สิทธิในกำรศึกษำและกำรอบรม และข้อก ำหนดที่ ๒๖ กำรเข้ำถึงข้อมูลข่ำวสำรเกี่ยวกับ

               นโยบำยด้ำนผู้หญิง

                       จำกบทบัญญัติต่ำงๆ ในกฎหมำยที่น ำมำศึกษำพบว่ำ แม้กฎหมำยจะบัญญัติและให้ควำม
               คุ้มครองสิทธิด้ำนต่ำงๆ ของเด็ก เยำวชน และผู้หญิง แต่ถูกก ำกับไว้ด้วยควำมเชื่อทำงศำสนำ และบรรทัด

               ฐำนทำงสังคมและวัฒนธรรม บทบัญญัติในกฎหมำยจึงมีควำมย้อนแย้งกันเอง เช่น สิทธิของสำมีและ

               ภรรยำในกำรสร้ำงครอบครัวที่ต้องไปตำมควำมเชื่อทำงศำสนำ ซึ่งหมำยถึงไม่สำมำรถที่จะเป็ นไปด้วย

               ควำมสมัครใจและเสรีภำพได้ หรือกำรออกกฎหมำยเพื่อคุ้มครองทำรกที่ยังไม่ได้ถือก ำเนิดขึ้นมำก็คือ กำร
               ไม่อนุญำตให้เยำวชนหญิงเข้ำถึงทำงเลือกส ำหรับกำรตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม รำยงำนของ WHO  (2005) อ้ำง

               ถึงกำรศึกษำปี ๒๐๐๓ ของ The Health Action Information Network (HAIN) พบว่ำ เยำวชนฟิลิปปินส์

               ร้อยละ ๕๘.๘ ยอมรับเรื่องกำรท ำแท้งหำกส่งผลต่อชีวิตของแม่ และงำนวิจัยอื่นศึกษำที่ Baguio  พบว่ำ

               นักศึกษำกล่ำวว่ำ กำรท ำแท้งเป็นสิ่งที่ผิดไม่ว่ำจะในสถำนกำรณ์ใด (Cruz  and  Diaz  2001) นอกจำกนี้

               รำยงำนดังกล่ำวยังอ้ำงถึง ข้อค้นพบของ Cabigon  (1999)  ว่ำ  อัตรำกำรยอมรับของประชำกรทั่วไปเรื่อง
               กำรท ำแท้งต ่ำมำก (ร้อยละ ๔) เนื่องจำกควำมเชื่อทำงสังคมที่มองว่ำกำรท ำแท้งป็นสิ่งต้องห้ำมตำม

               ควำมเชื่อของศำสนำและผิดกฎหมำย

                       จุดยืนของศำสนจักรโรมันคำทอลิกมีอิทธิพลอย่ำงมำกต่อกำรวำงแผนครอบครัว ศำสนจักรยอมรับ

               กำรใช้ถุงยำงอนำมัย แต่มองว่ำยำคุมก ำเนิดและห่วงอนำมัยเป็นบำป [A  Review  of  Literature  and
               Projects 1995 – 2003 (WHO)]








                                                                                                       ๓๗
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43