Page 12 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน ฉบับสมบูรณ์
P. 12
o กฎหมำย เอกสำรทำงวิชำกำร หนังสือ ต ำรำ รำยงำนกำรวิจัยที่เกี่ยวข้องในประเทศไทย
และต่ำงประเทศ รวมถึงหลักกำรและมำตรกำรที่เกี่ยวข้องกับกำรปกป้ องคุ้มครองสิทธิ
ของเยำวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ตำมกฎหมำยของต่ำงประเทศ ๓ ประเทศ
ได้แก่ ฟิลิปปินส์ เวียดนำม และอินโดนีเซีย ทั้งนี้เพรำะทั้ง ๓ ประเทศล้วนเป็นสมำชิก
ในภูมิภำคที่ก ำลังก้ำวเข้ำสู่ประชำคมอำเซียนในปี ๒๕๕๘ และเพื่อให้งำนวิจัยสอดรับ
กับกำรก้ำวไปเข้ำสู่กำรเป็นประชำคมอำเซียน มำกไปกว่ำนั้น ทั้ง ๓ ประเทศ ต่ำงมี
วัฒนธรรมและกระบวนทัศน์ที่แตกต่ำงกันอย่ำงมำกซึ่งส่งผลต่อกำรบัญญัติกฎหมำย
ซึ่งเป็นไปตำมกรอบของศำสนำ ควำมเชื่อ และบรรทัดฐำนทำงสังคม ดังนี้
๑. เวียดนำม มีประชำกรร้อยละ ๘๒ ที่ถือว่ำตัวเองไม่มีศำสนำ แต่ได้รับอิทธิพล
จำกลัทธิขงจื้อ
๒. ฟิลิปปินส์ มีประชำกรนับถือศำสนำคริสต์ถึงร้อยละ ๙๒ และในจ ำนวนนี้
นับถือคริสต์นิกำยโรมันคำทอลิกถึงร้อยละ ๘๓ ซึ่งถือว่ำเป็นสถำบันที่ทรงอิทธิพล
มำกในกำรควบคุมเรื่องอนำมัยเจริญพันธุ์และกำรวำงแผนครอบครัวของคน
โดยเฉพำะเพศหญิง
๓. อินโดนีเซีย มีประชำกรนับถือศำสนำอิสลำมถึงร้อยละ ๘๖.๑ และหลักกำร
ของศำสนำมีบทบำทเหนือกฎหมำยต่ำงๆ ซึ่งทุกมำตรำจะมีกำรก ำกับเอำไว้ว่ำ
ทั้งนี้ต้องเป็นไปตำมหลักกำรทำงศำสนำและไม่ขัดกับศีลธรรมอันดีของสังคม
o นโยบำยของรัฐ หลักกำรและมำตรกำรที่เกี่ยวข้องกับกำรปกป้ องคุ้มครองสิทธิของ
เยำวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรตำมกฎหมำยต่ำงๆ เช่น พระรำชบัญญัติ
คุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ พระรำชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท ำด้วยควำมรุนแรงใน
ครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐ เป็นต้น รวมทั้งกำรด ำเนินงำนของหน่วยงำนที่รับผิดชอบใน
เรื่องดังกล่ำว ว่ำมีควำมเพียงพอและเหมำะสมต่อกำรป้ องกัน ดูแลแก้ไขปัญหำเยำวชน
หญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร และกำรคุ้มครองสิทธิของเยำวชนหญิงที่ประสบปัญหำ
ดังกล่ำว หรือไม่เพียงใด
กำรสัมภำษณ์ แบ่งออกเป็น
o กำรสัมภำษณ์เชิงลึก (In-depth Interviews) กลุ่มเป้ ำหมำยในกรุงเทพมหำนคร
นนทบุรี นครปฐม และเพชรบุรี ดังนี้
o กลุ่มเยำวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร อำยุระหว่ำง ๑๕-๒๔ ป ี โดย
แบ่งเป็นกลุ่มเยำวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ต่อและยุติกำรตั้งครรภ์ จ ำนวน ๓๒ คน
o กลุ่มเยำวชนชำยอำยุระหว่ำง ๑๕-๒๔ ปี ทั่วไปที่ยังไม่ได้แต่งงำน โดยไม่
จ ำเป็นว่ำจะมีประสบกำรณ์ทำงเพศแล้วหรือไม่ จ ำนวน ๒๐ คน
๑๒