Page 16 - รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติต่อกรณีข้อร้องเรียนของเครือข่ายประชาชนภาคตะวันออก
P. 16

รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
           (14) ต่อกรณีข้อร้องเรียนของเครือข่ายประชาชนภาคตะวันออก




                  ๕.  ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในภาพรวมระดับประเทศ  กรณีการคุ้มครองสิทธิ ๙๗

                        ชุมชน ตามมาตรา ๖๖ และมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
                        พุทธศักราช ๒๕๕๐




                            ๕.๑  รัฐบาลต้องปฏิบัติหน้าที่ตามพันธกรณีของรัฐในการเคารพ (Obligation to Respect)   ๙๗

                                 สิทธิชุมชน
                                 ๕.๑.๑  ข้อพิจารณาเชิงเนื้อหา
                                 ๕.๑.๒  ข้อพิจารณาเชิงกระบวนการ

                            ๕.๒  รัฐบาลต้องปฏิบัติหน้าที่ตามพันธกรณีของรัฐในการปกป้อง (Obligation to Protect)   ๑๐๐
                                 สิทธิชุมชน
                                 ๕.๒.๑  การจัดทำาและปรับปรุงผังเมือง
                                 ๕.๒.๒  การทำา EIA/HIA
                                 ๕.๒.๓  การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ (Strategic Environmental
                                        Assessment : SEA)
                                 ๕.๒.๔    การป้องกัน กำากับดูแล ติดตาม ตรวจสอบให้การประกอบการของภาคธุรกิจและ
                                        อุตสาหกรรมเคารพสิทธิมนุษยชน รวมถึงสิทธิชุมชน


                            ๕.๓  รัฐบาลต้องปฏิบัติหน้าที่ตามพันธกรณีของรัฐในการดำาเนินมาตรการที่จำาเป็น   ๑๐๓
                                 และเพียงพอที่จะทำาให้สิทธิชุมชนเกิดผลและเป็นจริง (Obligation to Fulfill)
                                 ๕.๓.๑  รัฐบาลต้องส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยต้องดำาเนินการ
                                        ตามแนวนโยบายด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน ตามมาตรา ๘๗
                                        ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  พุทธศักราช ๒๕๕๐  อย่างเคร่งครัด
                                 ๕.๓.๒  รัฐบาลต้องเร่งนำาเครื่องมือการประเมินผลกระทบทางกฎหมาย (Regulatory
                                        Impact Assessment/RIA) มาใช้ในประเทศไทย เพื่อ
                                        ตรวจสอบการออกกฎหมายลำาดับรองของฝ่ายบริหาร
                                 ๕.๓.๓  รัฐบาลต้องเร่งรัดการดำาเนินการจัดทำาหรือปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวกับ
                                        การกำาหนดรายละเอียดเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิชุมชนให้เกิดผลที่เป็นจริง
                                        ตามเจตนารมณ์ของ มาตรา ๖๖ และมาตรา ๖๗
                                        ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
                                 ๕.๓.๔  รัฐบาลควรทบทวนการให้ความสำาคัญต่อความสำาเร็จในการพัฒนาประเทศ
                                        โดยใช้ตัวชี้วัดผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product : GDP)




                   ภาคผนวก                                                                        ๑๐๗


                   บรรณานุกรม                                                                     ๑๘๘
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21