Page 15 - รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติต่อกรณีข้อร้องเรียนของเครือข่ายประชาชนภาคตะวันออก
P. 15
ต่อกรณีข้อร้องเรียนของเครือข่ายประชาชนภาคตะวันออก (13)
รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
๔. บทวิเคราะห์ ๗๑
๔.๑ ข้อร้องเรียนของเครือข่ายประชาชนภาคตะวันออกเป็นเรื่อง “สิทธิมนุษยชน” กับ ๗๑
“สิ่งแวดล้อม”
๔.๒ การที่รัฐบาลไม่ปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๖๗ วรรคสอง เกี่ยวข้องกับการละเมิด ๗๒
สิทธิมนุษยชน
๔.๒.๑ รัฐบาลบกพร่องในการปฏิบัติตามพันธกรณีของรัฐในการเคารพ (Obligation to
Respect)
๔.๒.๒ รัฐบาลบกพร่องในการปฏิบัติตามพันธกรณีของรัฐในการปกป้อง (Obligation to
Protect)
๔.๒.๓ รัฐบาลบกพร่องในการดำาเนินมาตรการที่จำาเป็นและเพียงพอที่จะทำาให้สิทธิของ
บุคคลและชุมชนในพื้นที่เกิดผลและเป็นจริงขึ้นได้ในเวลาที่เหมาะสม (Obligation to
Fulfill)
๔.๓ เจตนารมณ์ที่แท้จริงของ มาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๗๗
๒๕๕๐ คือ การคุ้มครองสิทธิชุมชน
๔.๓.๑ เจตนารมณ์ในการคุ้มครองสิทธิชุมชนที่มิใช่กระบวนการออกใบอนุญาต
๔.๓.๒ เจตนารมณ์ในเรื่องผู้มีอำานาจกำาหนดประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิด
ผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง
๔.๔ ผลกระทบต่อสิทธิของชุมชนมาบตาพุด อันเนื่องจากการไม่ดำาเนินการตามเจตนารมณ์ของ ๘๑
รัฐธรรมนูญ
๔.๔.๑ ชุมชนได้รับมลพิษเพิ่มขึ้นโดยขาดการควบคุมที่รอบคอบ
๔.๔.๒ ชุมชนมีความเสี่ยงต่ออันตรายจากอุบัติภัยของโรงงานเพิ่มขึ้น
๔.๔.๓ การประกอบอาชีพเกษตรกรรมและประมงของชุมชนได้รับผลกระทบ
๔.๔.๔ ชุมชนไม่ได้รับทราบข้อมูลของโรงงานที่ครบถ้วน
๔.๔.๕ ชุมชนขาดมาตรการป้องกันที่ดีจากเจ้าของโรงงาน
๔.๔.๖ ชุมชนขาดการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพที่ดีจากภาครัฐและเจ้าของโรงงาน
๔.๕ ผลประโยชน์ส่วนรวมของชาติและประชาชน ผลประโยชน์ของชาติในทรัพยากรธรรมชาติ ๘๔
สิ่งแวดล้อม และสวัสดิภาพของประชาชน ยังไม่ได้รับความสำาคัญในลำาดับแรก
๔.๖ การกำาหนดนโยบายและการใช้กฎหมายขัดกับหลักธรรมาภิบาลที่ดี ๘๕
๔.๗ กฎหมายที่ออกโดยฝ่ายบริหารมีจำานวนมาก ประกาศใช้ได้ง่าย ไม่มีการตรวจสอบ ๙๐
และใช้เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐบาล
๔.๘ บทบาทเชิงรุกของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
๙๕