Page 13 - รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติต่อกรณีข้อร้องเรียนของเครือข่ายประชาชนภาคตะวันออก
P. 13
ต่อกรณีข้อร้องเรียนของเครือข่ายประชาชนภาคตะวันออก (11)
รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
๒. อำานาจหน้าที่ (Authority and Duties) กับสถานะและบทบาท (Status and ๗
Roles) ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเกี่ยวกับสิทธิต่างๆ เพื่อการ
เข้าถึงซึ่งสุขภาพที่ดี ทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณภาพ และสิ่งแวดล้อมที่ดี
๒.๑ อำานาจหน้าที่ (Authority and Duties) ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ๗
ตามกฎหมายภายในของไทย
๒.๑.๑ อำานาจหน้าที่ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
๒๕๕๐
๒.๑.๒ อำานาจหน้าที่ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
๒.๑.๓ ขอบเขตอำานาจหน้าที่ : พันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
ที่ประเทศไทยเป็นภาคี
๒.๒ สถานะและบทบาท (Status and Roles) ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ๑๑
ในการคุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และสิทธิเสรีภาพตามกฎหมายภายในของไทย
๒.๒.๑ สถานะของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
๒.๒.๒ บทบาทของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
๒.๒.๒.๑ การคุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของบุคคลทุกคนที่อยู่ภายใต้เขต
อำานาจรัฐ โดยมิได้จำากัดเฉพาะชนชาวไทย
๒.๒.๒.๒ การคุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และสิทธิเสรีภาพของบุคคล ที่เป็น
ชนชาวไทย
๒.๓ สถานะและบทบาทของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิ ๑๓
เชิงกระบวนการ (Procedural Rights) และสิทธิเชิงเนื้อหา (Substantive Rights) เพื่อการ
เข้าถึงซึ่งสุขภาพที่ดี ทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณภาพ และสิ่งแวดล้อมที่ดี
๒.๓.๑ บทบาทในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเชิงกระบวนการประเภทต่างๆ เพื่อการเข้า
ถึงซึ่งสุขภาพที่ดี ทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณภาพ และสิ่งแวดล้อมที่ดี
๒.๓.๑.๑ บทบาทในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร (Right
to Information)
๒.๓.๑.๒ บทบาทในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิในการมีส่วนร่วมของประชาชน
(Right to Public Participation)
๒.๓.๑.๓ บทบาทในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิในการเข้าถึงความยุติธรรมทาง
สิ่งแวดล้อม (Right to Access to Environmental Justice)
๒.๓.๒ บทบาทในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเชิงเนื้อหาประเภทต่างๆ เพื่อการเข้าถึง
ซึ่งสุขภาพที่ดี ทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณภาพ และสิ่งแวดล้อมที่ดี
ตามกฎหมายภายใน และตราสารระหว่างประเทศอื่นๆ ที่รัฐต้องปฏิบัติตาม (Hard
Law) และรัฐควรดำาเนินการ (Soft Law)
๒.๓.๒.๑ บทบาทในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิในสุขภาพ (Right to Health)
๒.๓.๒.๒ บทบาทในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิในการเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติที่
มีคุณภาพ
๒.๓.๒.๓ บทบาทในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิในสิ่งแวดล้อมที่ดี (Right to
Healthy Environment)