Page 31 - กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 31
มาตรา ๔๐ ให้คณะกรรมการจัดท ารายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน ทราบเป็นการทั่วไป และให้สรุปไว้ในรายงานตามมาตรา ๔๐ วรรคหนึ่ง ด้วย ทั้งนี้ ให้น าความ
ของประเทศประจ าปีให้แล้วเสร็จภายในเก้าสิบวันนับแต่วันสิ้นปีปฏิทินเพื่อเสนอต่อรัฐสภาและ ในมาตรา ๓๕ (๑) มาใช้บังคับแก่การตรวจสอบโดยอนุโลม
คณะรัฐมนตรี และเผยแพร่ให้ประชาชนทราบเป็นการทั่วไป ทั้งนี้ ให้กรรมการมาแถลงรายงานดังกล่าว มาตรา ๔๕ ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ ให้คณะกรรมการจัดท า
ต่อรัฐสภาด้วย รายงานประจ าปีเสนอต่อคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา โดยอย่างน้อยให้คณะกรรมการสรุปปัญหาอุปสรรค
ในกรณีที่มีสถานการณ์อันกระทบหรือเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้นอย่างร้ายแรง และข้อเสนอแนะในการด าเนินการด้วย และเผยแพร่ให้ประชาชนทราบเป็นการทั่วไป
ให้คณะกรรมการด าเนินการตรวจสอบแล้วจัดท ารายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน
ของประเทศในเรื่องนั้นขึ้นเป็นการเฉพาะ เพื่อรายงานให้รัฐสภาและคณะรัฐมนตรีทราบโดยเร็ว พร้อมทั้ง มาตรา ๔๖ ห้ามมิให้ผู้ใดเปิดเผยข้อมูลอันท าให้สามารถระบุตัวตนของผู้แจ้งหรือ
เผยแพร่ให้ประชาชนทราบเป็นการทั่วไป ผู้ร้องเรียน รวมทั้งข้อมูลข่าวสารที่ได้มาเนื่องจากการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้
ในกรณีที่คณะกรรมการจัดท ารายงานตามวรรคหนึ่งไม่แล้วเสร็จภายในก าหนดเวลา เว้นแต่ เป็นการเปิดเผยข้อมูลเพื่อปฏิบัติตามหน้าที่และอ านาจหรือตามกฎหมายหรือตามค าสั่งศาล
จะขยายเวลาออกไปอีกไม่เกินหนึ่งร้อยแปดสิบวันก็ได้แต่ต้องแจ้งให้รัฐสภาทราบ ในกรณีที่ยังไม่สามารถ ผู้จัดท าและเผยแพร่รายงานตามหมวดนี้ หากได้กระท าโดยสุจริต ผู้นั้นไม่ต้องรับผิดทั้งทางแพ่ง
เสนอรายงานดังกล่าวต่อรัฐสภาและคณะรัฐมนตรีได้ภายในก าหนดเวลาที่ขยายโดยไม่มีเหตุอันสมควร ทางอาญา ทางปกครอง หรือทางวินัย
ให้คณะกรรมการพ้นจากต าแหน่งทั้งคณะ หมวด ๓
การจัดท ารายงานตามมาตรานี้ ให้กระท าเป็นการสรุป โดยอย่างน้อยในรายงาน ส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ต้องประกอบด้วย ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน โดยมิให้
ระบุรายละเอียดอันเป็นการเปิดเผยความลับของบุคคลหรือหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องโดยไม่จ าเป็น มาตรา ๔๗ ให้มีส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เป็นส่วนราชการและ
และต้องค านึงถึงความถูกต้อง เป็นธรรม และผลประโยชน์ส่วนรวมของชาติเป็นส าคัญด้วย ทั้งนี้ มีฐานะเป็นนิติบุคคล อยู่ภายใต้การก ากับดูแลของคณะกรรมการ
ให้หน่วยงานของรัฐที่คณะกรรมการร้องขอ แจ้งข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับสถานการณ์สิทธิมนุษยชน
ในส่วนที่อยู่ในหน้าที่และอ านาจให้คณะกรรมการทราบ และให้น าความในมาตรา ๓๕ (๑) มาใช้บังคับ มาตรา ๔๘ ส านักงานมีหน้าที่และอ านาจ ดังต่อไปนี้
โดยอนุโลม (๑) รับผิดชอบงานธุรการและด าเนินการเพื่อให้คณะกรรมการบรรลุภารกิจและหน้าที่
ตามที่ก าหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ และกฎหมายอื่น
มาตรา ๔๑ ให้คณะกรรมการจัดให้มีแผนการด าเนินการตามมาตรา ๔๐ เพื่อให้การปฏิบัติ (๒) อ านวยความสะดวก ช่วยเหลือ ส่งเสริม และสนับสนุน การปฏิบัติงานของคณะกรรมการ
หน้าที่แต่ละกรณีเป็นไปโดยไม่ชักช้า และแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่ก าหนดไว้ และกรรมการ
มาตรา ๔๒ ในกรณีที่คณะกรรมการเห็นว่าการแก้ไขปัญหาหรือการป้องกันเพื่อมิให้เกิด (๓) ศึกษา รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และสนับสนุนให้มีการวิจัยเกี่ยวกับงานของคณะกรรมการ
การละเมิดสิทธิมนุษยชนในเรื่องใดหรือลักษณะใดขึ้นอีก จ าเป็นต้องมีการก าหนดมาตรการหรือแนวทาง รวมทั้งประสานงานกับหน่วยงานของรัฐ องค์กรเอกชน หรือองค์กรอื่นใดในด้านสิทธิมนุษยชน
ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน รวมตลอดทั้งการแก้ไขปรับปรุง กฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือ เพื่อประโยชน์ในการสนับสนุนภารกิจและหน้าที่ของคณะกรรมการ
ค าสั่งใด เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชนให้คณะกรรมการจัดท าข้อเสนอแนะเสนอต่อรัฐสภา (๔) ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่มีกฎหมายก าหนดหรือที่คณะกรรมการมอบหมาย
คณะรัฐมนตรี หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อด าเนินการตามหน้าที่และอ านาจต่อไป การด าเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และแนวทางที่คณะกรรมการ
ก าหนด
มาตรา ๔๓ ในกรณีที่รัฐสภา คณะรัฐมนตรี หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รับรายงานหรือ
ข้อเสนอแนะตามมาตรา ๓๖ วรรคสี่ มาตรา ๔๐ หรือมาตรา ๔๒ แล้ว ให้รัฐสภา คณะรัฐมนตรี มาตรา ๔๙ ในการก ากับดูแลส านักงาน ให้คณะกรรมการมีอ านาจออกระเบียบหรือประกาศ
หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด าเนินการปรับปรุงแก้ไขตามความเหมาะสมโดยเร็ว กรณีใดไม่อาจด าเนินการได้ ในเรื่องดังต่อไปนี้
หรือต้องใช้เวลาในการด าเนินการ ให้แจ้งเหตุผลให้คณะกรรมการทราบโดยไม่ชักช้า (๑) การแบ่งส่วนราชการภายในของส านักงานและขอบเขตหน้าที่และอ านาจของส่วนราชการ
ในกรณีที่เห็นสมควร คณะกรรมการอาจเผยแพร่รายงานหรือข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ ดังกล่าว
หรือผลการด าเนินการของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี หรือหน่วยงานของรัฐหรือเอกชนที่เกี่ยวข้อง (๒) การก าหนดต าแหน่ง การจัดประเภทต าแหน่ง ระดับต าแหน่ง และการเทียบต าแหน่ง
ให้ประชาชนทราบเป็นการทั่วไปได้ อัตราเงินเดือน เงินเพิ่มพิเศษส าหรับต าแหน่ง และค่าตอบแทนหรือสิทธิประโยชน์อื่นของข้าราชการ
พนักงานราชการ และลูกจ้างของส านักงาน
มาตรา ๔๔ เมื่อความปรากฏต่อคณะกรรมการไม่ว่าโดยทางใดว่ามีการรายงานสถานการณ์ (๓) การก าหนดคุณสมบัติ การคัดเลือก การบรรจุ การแต่งตั้ง การออกจากราชการ วินัย
เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนในประเทศไทยโดยไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นธรรม คณะกรรมการต้องตรวจสอบและ และการลงโทษทางวินัย การร้องทุกข์ การอุทธรณ์การลงโทษและการอื่นที่จ าเป็นในการบริหารงาน
ชี้แจงหรือจัดท ารายงานข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของสถานการณ์นั้นโดยไม่ชักช้า เพื่อเผยแพร่ให้ประชาชน
22