Page 29 - กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 29
ในการด าเนินการตามวรรคหนึ่ง ถ้าเป็นกรณีที่มีผู้แจ้งหรือผู้ร้องเรียน เมื่อผลการพิจารณา ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐหรือเอกชนที่เกี่ยวข้องไม่อาจด าเนินการได้เนื่องจากไม่อยู่ในหน้าที่
เป็นประการใด ให้คณะกรรมการแจ้งให้ผู้แจ้งหรือผู้ร้องเรียนทราบด้วย เว้นแต่ผู้แจ้งหรือผู้ร้องเรียน และอ านาจของหน่วยงานของรัฐหรือเอกชนนั้น หรือเป็นการร้องเรียนโดยใช้สิทธิไม่สุจริต หรือได้มีการ
มิได้แจ้งสถานที่อยู่ที่จะติดต่อได้ แก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสมแล้ว หรือมีเหตุจ าเป็นอื่นใดให้แจ้งให้คณะกรรมการทราบก่อนพ้นก าหนดเวลา
ตามวรรคหนึ่ง
มาตรา ๓๕ ในการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อเท็จจริงตามมาตรา ๓๔ คณะกรรมการ ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐหรือเอกชนที่เกี่ยวข้องมิได้ด าเนินการตามวรรคสองหรือวรรคสาม
อาจด าเนินการโดยประการใด ๆ ซึ่งต้องไม่สร้างขั้นตอนหรือเป็นภาระแก่บุคคลหรือหน่วยงานของรัฐ
ที่เกี่ยวข้องมากเกินจ าเป็น และต้องเปิดโอกาสให้ผู้ร้องเรียนหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องชี้แจงและ ภายในระยะเวลาที่ก าหนดโดยไม่มีเหตุอันสมควร ให้คณะกรรมการจัดท ารายงานเสนอคณะรัฐมนตรี
แสดงพยานหลักฐานประกอบค าชี้แจงของตนได้ตามสมควร มาตรา ๓๗ ในกรณีที่การละเมิดสิทธิมนุษยชนเรื่องใดเป็นความผิดอาญาและผู้เสียหาย
เพื่อประโยชน์ในการด าเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้คณะกรรมการมีอ านาจดังต่อไปนี้ ซึ่งต้อง ไม่อยู่ในฐานะที่จะร้องทุกข์หรือกล่าวโทษด้วยตนเองได้ ให้คณะกรรมการหรือผู้ซึ่งคณะกรรมการ
กระท าเท่าที่จ าเป็น มอบหมายมีอ านาจร้องทุกข์หรือกล่าวโทษได้โดยให้ถือว่าเป็นผู้เสียหายตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
(๑) ขอให้หน่วยงานของรัฐ ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยงานดังกล่าว หรือ ความอาญา
บุคคลใด มีหนังสือชี้แจงข้อเท็จจริงหรือให้ความเห็นในการปฏิบัติงาน หรือมาให้ถ้อยค า หรือส่งวัตถุ มาตรา ๓๘ ในกรณีที่กรรมการผู้ใดพบเห็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนและจ าเป็น
เอกสาร หลักฐาน หรือพยานหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อประกอบการพิจารณาภายในระยะเวลา ต้องด าเนินการโดยเร่งด่วน ซึ่งหากปล่อยให้เนิ่นช้าไปจะเป็นภยันตรายต่อชีวิตหรือร่างกายของบุคคล
ที่คณะกรรมการก าหนด ในกรณีที่หน่วยงานหรือบุคคลใดไม่ด าเนินการตามที่คณะกรรมการร้องขอ ซึ่งถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือไม่มีทางเยียวยาได้ในภายหลัง กรรมการผู้นั้นอาจแจ้งให้หน่วยงานของรัฐ
คณะกรรมการจะออกค าสั่งให้หน่วยงานหรือบุคคลนั้นด าเนินการดังกล่าวก็ได้ ให้ความช่วยเหลือเยียวยาผู้ได้รับความเสียหายจากการละเมิดสิทธิมนุษยชนตามหน้าที่และอ านาจของ
(๒) เข้าไปในเคหสถานหรือสถานที่ใด ๆ เพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริงหรือรวบรวมพยานหลักฐานต่าง ๆ หน่วยงานนั้นได้ แล้วแจ้งให้คณะกรรมการทราบ ในกรณีจ าเป็นอันไม่อาจหลีกเลี่ยงได้กรรมการผู้นั้น
ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ในกรณีที่เคหสถานหรือสถานที่ที่จะเข้าไปนั้นมิได้อยู่ในความครอบครองของหน่วยงาน อาจสั่งให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือต ารวจที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ให้ความช่วยเหลือ
ของรัฐ และเจ้าของหรือผู้ครอบครองไม่ยินยอม ให้เข้าไปได้เมื่อมีหมายของศาล ตามที่เห็นสมควรได้
(๓) ออกระเบียบก าหนดหลักเกณฑ์การจ่ายค่าใช้จ่าย ค่าเบี้ยเลี้ยง และค่าเดินทางของบุคคล ให้เป็นหน้าที่ของพนักงานฝ่ายปกครองหรือต ารวจหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ที่ได้รับค าสั่งตาม
ซึ่งมาให้ความเห็นหรือถ้อยค า และการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ วรรคหนึ่งที่จะต้องปฏิบัติตามค าสั่งนั้น
ในการด าเนินการตาม (๑) หรือ (๒) คณะกรรมการอาจมอบหมายให้กรรมการหรือพนักงาน
เจ้าหน้าที่ ด าเนินการแทนคณะกรรมการได้ เว้นแต่การออกค าสั่งตาม (๑) ให้มอบหมายได้เฉพาะ มาตรา ๓๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๖ ห้ามมิให้คณะกรรมการรับเรื่องที่คณะกรรมการพิจารณา
กรรมการ ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการก าหนด แล้วเห็นว่ามีลักษณะดังต่อไปนี้ ไว้พิจารณา
ในการด าเนินการตาม (๒) ให้ด าเนินการต่อหน้าผู้ครอบครองหรือดูแลสถานที่ หรือ (๑) เรื่องที่มีการฟ้องร้องเป็นคดีอยู่ในศาลหรือเรื่องที่ศาลมีค าพิพากษา ค าสั่ง หรือค าวินิจฉัย
ผู้ซึ่งเกี่ยวข้อง หรือถ้าหาบุคคลดังกล่าวไม่ได้ ก็ให้ด าเนินการต่อหน้าบุคคลอื่นอย่างน้อยสองคน เสร็จเด็ดขาดแล้ว เว้นแต่เป็นการศึกษาเพื่อประโยชน์ในการเสนอแนะให้มีการแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย
ซึ่งได้ขอร้องให้มาเป็นพยาน ในการนี้ ให้ผู้ครอบครองหรือดูแลสถานที่หรือผู้ซึ่งเกี่ยวข้องให้ความร่วมมือ กฎ ระเบียบ หรือค าสั่ง ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมเพื่อให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน
เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวเป็นไปโดยสะดวก (๒) เรื่องที่ไม่อยู่ในหน้าที่และอ านาจของคณะกรรมการ
(๓) เรื่องที่อยู่ในหน้าที่และอ านาจขององค์กรอิสระอื่น หรือที่องค์กรอิสระอื่นรับไว้ด าเนินการ
มาตรา ๓๖ ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบแล้วเห็นว่า การละเมิดสิทธิมนุษยชนกรณีใด ตามหน้าที่และอ านาจขององค์กรอิสระนั้นแล้ว แต่ไม่ตัดอ านาจในการที่จะขอรับทราบผลการพิจารณา
เป็นเรื่องเฉพาะตัวเป็นรายกรณี ให้แจ้งหน่วยงานของรัฐหรือเอกชนที่เกี่ยวข้องเพื่อแก้ไขการละเมิด ขององค์กรอิสระที่รับเรื่องไว้ด าเนินการ
สิทธิมนุษยชนดังกล่าวตามหน้าที่และอ านาจภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการก าหนดซึ่งต้องไม่น้อยกว่า (๔) เป็นการร้องเรียนโดยใช้สิทธิไม่สุจริตและการพิจารณาจะไม่เป็นประโยชน์ต่อประชาชน
หกสิบวัน โดยให้คณะกรรมการเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางที่เหมาะสมในการป้องกันหรือแก้ไข โดยส่วนรวม
การละเมิดสิทธิมนุษยชนดังกล่าว รวมทั้งการเยียวยาผู้ได้รับความเสียหายจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน (๕) เรื่องที่มีการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสมแล้ว
ในกรณีนั้นด้วย แล้วแต่กรณี (๖) เป็นเรื่องที่คณะกรรมการเคยพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน เว้นแต่
ให้หน่วยงานของรัฐหรือเอกชนที่เกี่ยวข้องด าเนินการให้เป็นไปตามที่ได้รับแจ้งภายใน จะปรากฏพยานหลักฐานหรือข้อเท็จจริงใหม่อันอาจท าให้ผลการพิจารณาเปลี่ยนแปลงไป
ก าหนดเวลาตามวรรคหนึ่ง แล้วแจ้งผลการด าเนินการให้คณะกรรมการทราบภายในระยะเวลาที่ (๗) เรื่องอื่นตามที่คณะกรรมการก าหนด
คณะกรรมการก าหนด
ในกรณีที่ความปรากฏในภายหลังว่าเป็นเรื่องที่มีลักษณะตามวรรคหนึ่ง ให้คณะกรรมการ
สั่งยุติเรื่อง
20