Page 25 - กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 25

(๔) พ้นจากต าแหน่งตามมาตรา ๔๐ วรรคสาม                                                                                 ให้ประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุม ให้กรรมการ

                          เมื่อประธานกรรมการพ้นจากต าแหน่งประธานกรรมการ ให้พ้นจากต าแหน่งกรรมการด้วย                                  ที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการประชุม
                          ในกรณีที่มีปัญหาว่ากรรมการผู้ใดพ้นจากต าแหน่งตาม (๒) (๓) หรือ (๔) หรือไม่ ให้เป็นหน้าที่                    ที่คณะกรรมการก าหนด

                และอ านาจของคณะกรรมการสรรหาเป็นผู้วินิจฉัย ค าวินิจฉัยของคณะกรรมการสรรหาให้เป็นที่สุด                                           มาตรา ๒๔ ในระหว่างการด ารงต าแหน่ง กรรมการต้องไม่รับเงิน ทรัพย์สิน หรือ
                          ในกรณีที่ไม่มีผู้ด ารงต าแหน่งประธานกรรมการหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการเลือก                 ประโยชน์อื่นใดจาก
                กรรมการคนหนึ่งท าหน้าที่แทนประธานกรรมการ                                                                                        (๑) บุคคลผู้ไม่มีสัญชาติไทย

                          ในระหว่างที่กรรมการพ้นจากต าแหน่งก่อนวาระ และยังไม่มีการแต่งตั้งกรรมการแทน                                            (๒) นิติบุคคลตามกฎหมายต่างประเทศที่ประกอบธุรกิจหรือกิจการหรือจดทะเบียนสาขา
                ต าแหน่งที่ว่าง ให้กรรมการเท่าที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ แต่ถ้ามีกรรมการเหลืออยู่ไม่ถึงสี่คน                  อยู่ในหรือนอกราชอาณาจักร
                ให้กระท าได้แต่เฉพาะการที่จ าเป็นอันไม่อาจหลีกเลี่ยงได้                                                                         (๓) นิติบุคคลที่จดทะเบียนในราชอาณาจักรโดยมีบุคคลผู้ไม่มีสัญชาติไทยมีทุนหรือเป็นผู้ถือหุ้น

                          ในกรณีที่กรรมการจะพ้นจากต าแหน่งตามวาระ ให้ด าเนินการสรรหากรรมการใหม่ภายใน                                  เกินร้อยละสี่สิบเก้า ในกรณีที่เป็นบริษัทมหาชนจ ากัดให้พิจารณาตามที่ปรากฏในทะเบียนผู้ถือหุ้น
                หนึ่งร้อยห้าสิบวันก่อนวันที่กรรมการครบวาระ แต่ถ้ากรรมการพ้นจากต าแหน่งด้วยเหตุอื่นนอกจากการ                           ของบริษัทดังกล่าว หุ้นที่ไม่ปรากฏชื่อผู้ถือหรือโดยตัวแทนของบุคคลที่ไม่เปิดเผยชื่อ ให้ถือว่าเป็นหุ้น

                พ้นจากต าแหน่งตามวาระ ให้ด าเนินการสรรหากรรมการภายในหนึ่งร้อยห้าสิบวันนับแต่วันที่ต าแหน่ง                            ที่ถือโดยผู้ไม่มีสัญชาติไทย
                ว่างลง
                                                                                                                                                (๔) องค์การหรือนิติบุคคลที่มีรายได้หลักจากทุนหรือเงินอุดหนุนจากต่างประเทศ
                          มาตรา ๒๑ เมื่อมีผู้ร้องขอโดยมีหลักฐานตามสมควรว่ากรรมการผู้ใดพ้นจากต าแหน่ง                                            ความในวรรคหนึ่งไม่ใช้บังคับกับกรณีที่กรรมการได้รับเชิญจากองค์การระหว่างประเทศหรือ
                ตามมาตรา ๒๐ (๒) (๓) หรือ (๔) ให้เลขาธิการวุฒิสภาเสนอเรื่องต่อประธานกรรมการสรรหาภายใน                                  หน่วยงานของรัฐต่างประเทศให้ไปประชุมหรือสัมมนาในต่างประเทศโดยผู้เชิญเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายให้
                ห้าวันนับแต่วันที่ได้รับการร้องขอ และให้คณะกรรมการสรรหาวินิจฉัยให้แล้วเสร็จโดยเร็ว ในการวินิจฉัย                      ทั้งนี้ เมื่อได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการแล้ว


                ให้ถือเสียงข้างมากและให้ใช้วิธีลงคะแนนโดยเปิดเผย ในกรณีที่มีเสียงเท่ากันให้ประธานกรรมการสรรหา                                   มาตรา ๒๕ กรรมการต้องปฏิบัติหน้าที่เต็มเวลา และการปฏิบัติหน้าที่และการใช้อ านาจของ
                ออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด                                                                         คณะกรรมการต้องเป็นไปโดยสุจริต เที่ยงธรรม กล้าหาญ และปราศจากอคติทั้งปวงในการใช้ดุลพินิจ

                          หลักฐานตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการสรรหาก าหนด
                                                                                                                                      และปฏิบัติตนให้ถูกต้องตามมาตรฐานทางจริยธรรม ทั้งต้องค านึงถึงความผาสุกของประชาชนชาวไทย
                          มาตรา ๒๒ ในกรณีที่กรรมการต้องหยุดปฏิบัติหน้าที่เพราะถูกกล่าวหาและศาลฎีกาหรือ                                และผลประโยชน์ส่วนรวมของชาติเป็นส าคัญ ในระหว่างการด ารงต าแหน่งกรรมการจะเข้ารับการศึกษา
                ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมืองประทับรับฟ้อง และมีกรรมการเหลืออยู่ไม่ถึง                             หรืออบรม ในหลักสูตรหรือโครงการใด ๆ มิได้ เว้นแต่เป็นหลักสูตรหรือโครงการที่คณะกรรมการ

                กึ่งหนึ่ง ให้ประธานศาลฎีกาและประธานศาลปกครองสูงสุดร่วมกันแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มี                         เป็นผู้จัดขึ้นโดยเฉพาะส าหรับกรรมการ
                ลักษณะต้องห้ามเช่นเดียวกับกรรมการท าหน้าที่เป็นกรรมการเป็นการชั่วคราวให้ครบเจ็ดคน โดยให้ผู้ซึ่ง                                 ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ ต้องค านึงถึงวัฒนธรรมและประเพณีอันดีงามและ

                ได้รับแต่งตั้งท าหน้าที่ในฐานะกรรมการได้จนกว่ากรรมการที่ตนท าหน้าที่แทนจะปฏิบัติหน้าที่ได้                            บริบทของสังคมไทยเป็นส าคัญด้วย
                หรือจนกว่าจะมีการแต่งตั้งผู้ด ารงต าแหน่งแทน
                                                                                                                                                มาตรา ๒๖ คณะกรรมการมีหน้าที่และอ านาจ ดังต่อไปนี้
                          มาตรา ๒๓ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๐ วรรคห้า การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการ                                             (๑) ตรวจสอบและรายงานข้อเท็จจริงที่ถูกต้องเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนทุกกรณี

                มาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ านวนกรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ จึงจะเป็นองค์ประชุม ในกรณีที่                        โดยไม่ล่าช้า และเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางที่เหมาะสมในการป้องกันหรือแก้ไขการละเมิด
                กรรมการคนใดไม่อาจมาประชุมได้ ให้จดแจ้งเหตุนั้นไว้ในรายงานการประชุม                                                    สิทธิมนุษยชน รวมทั้งการเยียวยาผู้ได้รับความเสียหายจากการละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อหน่วยงานของรัฐ

                          การลงมติในการประชุมของคณะกรรมการให้ใช้คะแนนเสียงข้างมาก โดยประธานในที่ประชุม                                หรือเอกชนที่เกี่ยวข้อง
                และกรรมการที่มาประชุมต้องลงคะแนนเสียงเพื่อมีมติโดยจะงดออกเสียงมิได้ และให้กรรมการคนหนึ่ง                                        (๒) จัดท ารายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศเสนอต่อรัฐสภา
                มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ในกรณีมีคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมมีสิทธิออกเสียงเพิ่มขึ้น                       และคณะรัฐมนตรี และเผยแพร่ต่อประชาชน

                อีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด                                                                                                    (๓) เสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนต่อรัฐสภา
                          การไม่เข้าประชุมหรือไม่อยู่ในที่ประชุมตามวรรคสองเฉพาะในกรณีมีการพิจารณาวินิจฉัย                             คณะรัฐมนตรี และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมตลอดทั้งการแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือ

                ตามมาตรา ๒๖ (๒) หรือ (๔) โดยไม่มีเหตุอันสมควร ให้ถือว่าเป็นการจงใจฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติ                                ค าสั่งใด ๆ เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน
                ตามมาตรฐานทางจริยธรรม แต่ไม่ตัดสิทธิที่จะลาออกจากต าแหน่งก่อนมีการลงมติ                                                         (๔) ชี้แจงและรายงานข้อเท็จจริงที่ถูกต้องโดยไม่ชักช้าในกรณีที่มีการรายงานสถานการณ์

                                                                                                                                      เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนในประเทศไทยโดยไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นธรรม



                     16
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30