Page 105 - รายงานสรุปโครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ชุมคน ชุมชน คนใต้ ครั้งที่ 3
P. 105

๑๐๔


                         นางนิธิมา บินต ามะหงง จากส านักงานกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร เปิดเผยว่า ทัศนียภาพของภาคใต้
                  เป็นเชิงเขา ทุ่งนาและทะเล ปัจจุบันพื้นที่เชิงเขาก าลังมีการบุกรุกท าลายป่าไม้หลายพื้นที่ เช่น ในเขตอนุรักษ์สัตว์
                  ป่าป่าบาลาฮาลา และเขตอนุรักษ์ป่าไม้ในจังหวัดสตูล ส่วนพื้นที่ทุ่งนาหลายแหล่งถูกทิ้งร้าง เช่น ในพื้นที่ต าบลท่า
                  สาป อ าเภอเมือง จังหวัดยะลา ซึ่งเกิดจากการที่ภาครัฐไม่ส่งเสริมเกษตรกรรมมากนัก แต่ให้ความส าคัญกับ

                  อุตสาหกรรมมากกว่า ขณะที่พื้นที่ทางทะเลก็ถูกนายทุนท าประมงแบบท าลายล้าง ส่งผลให้ชาวประมงพื้นบ้านได้รับ
                  กระทบอย่างหนัก

                         นายสมบูรณ์ ค าแหง เครือข่ายประชาชนติดตามแผนพัฒนาจังหวัดสตูล กล่าวในกลุ่มแผนพัฒนาภาคใต้

                  และการจัดการทรัพยากรที่ดินชายฝั่ง ประเด็นปัญหาภาคใต้ว่า แผนพัฒนาภาคใต้ เป็นค าที่คนเข้าใจผิดว่าเป็นแผน
                  ที่ท าให้ภาคใต้เจริญ แต่อีกนัยยะหนึ่ง คือ แผนที่จะผลักดันให้โครงการขนาดใหญ่ลงมามากกว่า จึงถูก
                  เรียกว่า “แผนพัฒนาภาคใต้” เช่น โครงการก่อสร้างท่อส่งก๊าซธรรมชาติ และโครงการก่อสร้างท่าเรือน้ าลึก เป็นต้น


                         นายสมบูรณ์ กล่าวอีก เหตุที่ท าให้ต้องมีการขยายอุตสาหกรรมมายังภาคใต้เพิ่มขึ้น เนื่องจากนิคม
                  อุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยองไม่สามารถขยายตัวได้อีกแล้ว เพราะผลกระทบจากมลภาวะต่างๆ ภาครัฐจึง
                  ต้องเล็งหาพื้นที่พัฒนาอุตสาหกรรมแห่งใหม่ ซึ่งภาคใต้มีความเหมาะสมทั้งสภาพภูมิภาคและท าเลที่ตั้ง แต่รัฐบาล

                  จะไม่ตั้งนิคมอุตสาหกรรมขนาดใหญ่กระจุกตัวอยู่แห่งหนึ่งแห่งใด จะใช้วิธีกระจายให้ทั่วชายฝั่งทะเลแทน

                         นายสมบูรณ์ กล่าวต่อไปว่า ขณะนี้รัฐบาลได้เร่งรัดการพัฒนาอุตสาหกรรมในภาคใต้ให้เร็วขึ้น เพื่อให้ทัน
                  กับการเปิดเสรีอาเซียน โดยคาดหวังว่า ประเทศไทยจะเป็นศูนย์กลางในการขนส่งระดับอาเซียน ถ้าภาคใต้จะถูก

                  พัฒนาไปในทิศทางนั้น ถามว่า รัฐบาลได้ถามประชาชนที่อยู่ในพื้นที่นั้นแล้วหรือยังว่า พวกเขาต้องการโครงการนั้น
                  หรือไม่ ท าไมภาครัฐไม่ชี้แจงให้ประชาชนในพื้นที่ทราบว่า จะสร้างอะไร แต่ละโครงการมีผลกระทบอะไรบ้าง




                  .............

                                                     ปฏิญญาสงขลา


                                               สังคม-ชุมชนใหม่ที่เป็นไปได้




                         การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดล้อมจากการเข้าสู่สังคมโลกาภิวัตน์ การเติบโต
                  ของระบบการค้า  นโยบายการพัฒนา  การผันแปรทางการเมือง  ภัยคุกคามและความไม่มั่นคงในภาคใต้  ได้ส่งผล
                  กระทบอย่างขนานใหญ่ต่อพวกเราในฐานะประชาชน  คนธรรมดาสามัญ  ที่ถูกก าหนดชะตาชีวิตให้เดินในเส้นทางที่

                  ไม่ได้ก าหนด  ท าให้เผชิญกับความเจ็บปวด ทรมาณอย่างแสนสาหัส

                         และบัดนี้เราได้ประจักษ์ชัดถึงความจ าเป็นในเส้นทางที่เป็นไปได้  ส าหรับการสร้างสรรค์สังคมใหม่  ที่ท าให้
                  ประชาชน ธรรมดา สามัญ สามารถก าหนดนิยามสังคม-ชุมชนใหม่ ที่เราต้องการ ด้วยการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ

                  ที่ต่อเนื่องและโยงใย เพื่อปฏิบัติการปกป้อง คุ้มครอง และร่วมกันสร้างสังคมใหม่-ชุมชนใหม่อย่างมุ่งมั่นและจริงจัง




                         รายงานโครงการประชุมวิชาการระดับชาติ  ชุมคน ชุมชน คนใต฾  ครั้งที่ ๓ เสียงจากผู฾ไร฾สิทธิชายแดนใต฾
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110