Page 109 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 109

92   ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

                               คําที่เปนภาษาพูดทั่วไปในชีวิตประจําวัน ไมมีนัยที่แสดงถึงการไดเปรียบ
                               เสียเปรียบ และไมแฝงดวยอคติทางเพศภาวะวาใครเปนฝายไดหรือเสีย
                               ในการอึ๊บครั้งนั้น คลายกับความหมายของคําวา “เอากัน”



                                     “ปกัน”
                                     คําวา “ป” นั้นถูกใหความหมายวา รวมเพศเพื่อสืบพันธุ ซึ่งใชกับนก
                               เปด ไก เปนตน  แตในชีวิตประจําวันนั้น คนเรามักนําคําวาปมาใชกับการมี
                                           2
                               เพศสัมพันธของคนดวยเชนกัน และมักใชกันจนติดปาก จนมีคําคลองจองวา
                               กิน-ขี้-ป-นอน ซึ่งแสดงถึงการใชชีวิตตามสัญชาตญาณของมนุษย คําวาปมัก
                               ถูกใชในการอธิบายการมีเพศสัมพันธของมนุษยที่เปนลักษณะของธรรมชาติ
                               เพื่อสืบพันธุแตกลับมิไดรวมถึง หรือครอบคลุมไปถึงการมีเพศสัมพันธแบบอื่นๆ

                               ที่ไมเปนไปเพื่อการสืบพันธุ แตกลับเปนกิจกรรมหนึ่งของมนุษยเราดวยเชนกัน
                               เชน การมีเพศสัมพันธทางทวารหนัก หรือ ทางปาก เปนตน อยางไรก็ตาม
                               หากเปลี่ยนเปนคําวา “โดนอึ๊บ” หรือ “โดนป” จะมีนัยแสดงถึงผูถูกกระทําเปน

                               ผูหญิง ทั้งนี้เพราะสังคมมีคานิยมเกี่ยวกับผูหญิงวา ผูหญิงที่ดีจะตองไมสนใจ
                               หรือแสดงออกซึ่งความปรารถนาในเรื่องเพศ ตองรักนวลสงวนตัว เปนกุลสตรี
                               จึงมีแตผูหญิงเทานั้นที่จะเปนผูถูกกระทําทางเพศ เพราะผูหญิงคงไมสามารถ
                               จะไปกระทําทางเพศกับผูชายได

                                     ทั้งคําวา “อึ๊บ” และ “ป” เปนภาษาพูดที่ใชกันมานานแลว “อึ๊บ”
                               มาจากทาทางการเคลื่อนไหวในการมีเพศสัมพันธ ซึ่งตองใชแรงดัน นอกจากนี้
                               อึ๊บยังมีที่มาจากเสียงที่แสดงออกมาในขณะมีเพศสัมพันธไดดวยเชนกัน
                                                                                         3
                               นอกจากนี้ยังมีคําวา นอนกัน และ หลับนอน คําวา “หลับนอน” เปนการ

                               สลับคําของคําวา “นอนหลับ” ซึ่งมีความหมายตรงตัวทั่วไป โดยคําวา
                               “หลับนอน” นี้ ใหความหมายลึกซึ้งไปกวาการนอนหลับ โดยหมายถึงการมี
                               เพศสัมพันธกัน สวนใหญคําวา “หลับนอน” มักถูกใชกันในบริบทของคู

                               ความสัมพันธแบบสามีภรรยาและมีนัยของความยินยอมพรอมใจกัน


                               2   ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุคสพับลิเคชั่นส.
                                 2546. หนา 700.
                               3   เว็บไซต <http://th.wikipedia.org/wiki/อึ๊บ>

                                                       รณภูมิ สามัคคีคารมย
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114