Page 200 - เสียงจากประชาชน การต่อสู้เพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีร้องเรียน 2545-2550. เล่ม 4 : "ที่ดินในเขตป่าและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและป่า"
P. 200

บทบาทเปนผูสนับสนุนเปนหลัก ไมใชควบคุมหรือ  การพิสูจนสิทธิวาชุมชนตั้งถิ่นฐานทำกินมากอนการ
               สั่งการ                                    ประกาศเขตปาอนุรักษหรือไม โดยใชกระบวนการมี
                     ๘) กรณีพื้นที่ที่ชาวบานในชุมชนเปาหมาย  สวนรวมระหวางตัวแทนภาครัฐและชาวบานในทุก
               ไมเห็นดวยที่จะใหมีการดำเนินโครงการหมูบาน    ขั้นตอน และเมื่อพิสูจนแลวพบวาชุมชนตั้งถิ่นฐาน

               ปาไมแผนใหม ก็ควรจะยกเลิกการดำเนินการใน  มากอนการประกาศเขตปาอนุรักษใหดำเนินการ
               พื้นที่นั้นเสีย เพื่อปองกันความขัดแยงรุนแรงที่จะ  รับรองสิทธิที่มั่นคงในการอยูอาศัยและใชประโยชน
               เกิดขึ้นตามมา และหาแนวทางแกไขปญหาความ    ในที่ดินใหแกชุมชนนั้นๆ
               ขัดแยงกรณีคนกับปาที่เคยมีมากอนหนานี้โดยใช  ๔)  เครื่องมือและหลักฐานในการพิสูจน
               กระบวนการมีสวนรวมและรับฟงความคิดเห็นของ  รับรองสิทธิ ใหใชหลักฐานหลายอยางประกอบกัน
               ชาวบานในลำดับตอไป                        ทั้งหลักฐานทางราชการและการใหปากคำของพยาน
                                                          บุคคลตางๆ ทั้งจากภาครัฐ และตัวแทนชาวบาน
                     Ú. ¢âÕ‡ πÕ„π°“√·°â‰¢ªí≠À“§«“¡  รวมถึงรองรอยการทำประโยชนในพื้นที่  ที่ผานมา
               ¢—¥·¬âß„π°√≥’§π°—∫ªÉ“                      พบวามีองคกรพัฒนาเอกชน และหนวยงานราชการ

                     ๑) ยุติการขมขู คุกคามชุมชนในเขตปา หรือ  ตางๆ เขาไปใหการสนับสนุนการจัดทำขอบเขต
               การกระทำอื่นใดอันที่การละเมิดสิทธิชุมชนและสิทธิ  ชุมชน  เชน  หนวยจัดการตนน้ำ  โครงการฟนฟู
               มนุษยชนโดยทันที                            ตนน้ำลำธาร เปนตน โดยใชเครื่องมือแผนที่ทาง
                     ๒) ยกเลิกมติคณะรัฐมนตรีวันที่ ๓๐ มิถุนายน  ทหาร ภาพถายทางอากาศ ภาพถายดาวเทียม โดย
               พ.ศ.๒๕๔๑ ซึ่งเปนมติคณะรัฐมนตรีที่ไมสามารถนำ  ใช GPS เปนเครื่องมือประกอบการวางแผน แตก็ยัง
               ไปสูการแกไขปญหาใดๆ ได ในทางตรงกันขาม จะ  มีขอโตแยง มีความเห็นแตกตางในเรื่องขอบเขตวา
               ทำใหเกิดความขัดแยงในสังคมมากยิ่งขึ้น เพราะ  พื้นที่ตรงไหนที่สามารถอนุญาตใหทำกินไดหรือไม

               ชุมชนในเขตปาและประชาสังคมไมใหการยอมรับและ  ได และเมื่อนำมติคณะรัฐมนตรีตางๆ ที่เกี่ยวของไป
               จะไมใหความ รวมมือในการพิสูจนสิทธิตามขั้นตอน  ดำเนินการก็จะไมสามารถจัดการไดตามแผนการ
               เหลานั้น นอกจากนั้น ยังจำเปนตองแกไขกฎหมาย  จัดการของชุมชน ดังนั้นจึงมีการสรุปบทเรียนพบวา
               เกี่ยวกับการจัดการปาไม มติคณะรัฐมนตรี นโยบาย  การแกไขปญหาความขัดแยง ควรเนนไปที่การสราง
               แผน และโครงการตางๆ ที่เนนการปราบปราม ควบคุม  รูปธรรมในระดับทองถิ่น แลวนำผลที่ไดนำเสนอเพื่อ
               และจำกัดสิทธิของชาวบาน โดยใหปรับหลักการมาสู  ผลักดันทางนโยบายภายหลัง  การสรางรูปธรรม
               การสงเสริมและสนับสนุนใหชุมชนไดมีสวนรวมใน  เนนที่การมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสียในทอง
               การจัดการปา รวมกับเจาหนาที่รัฐ และภาคประชา  ถิ่นตามสภาพขอเท็จจริงของพื้นที่  พรอมกับนำ
               สังคม                                      เครื่องมือทางดานแผนที่ที่เหมาะสมมาใชในการ

                     ๓) แกไขปญหาการประกาศปญหาเขตปา    กำหนดขอบเขต  ซึ่งหากองคกรทองถิ่นรับรอง
               อนุรักษทับพื้นที่ชุมชนดวยกระบวนการมีสวนรวม  ขอบเขตดังกลาวจะทำใหการวางแผนการจัดการ
               และกระบวนการที่ใหความเปนธรรมตอชุมชนในเขต  ที่ดินเปนไปอยางเหมาะสม และเกิดมีประสิทธิภาพ
               ปา ในกรณีพื้นที่ที่มีกระบวนการแกไขปญหาอยางมี  มีความหลากหลายสอดคลองกับสภาพพื้นที่และ
               สวนรวมอยูแลว เชน กรณีบานหวยกลทา จังหวัด  ความรูของทองถิ่น อยางไรก็ตาม ยังมีชุมชนทองถิ่น
               เพชรบูรณ ใหดำเนินการแกไขปญหาตามขั้นตอน  อีกจำนวนมากที่ยังไมไดมีประสบการณในการ
               เดิมอยางตอเนื่องตอไป สวนพื้นที่อื่นๆ ใหดำเนิน  จัดการที่ดินโดยชุมชน มีครัวเรือนเกษตรกรยากจน


                                                                              เสียงจากประชาชน
                                                     “ที่ดินในเขตปาและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและปา”   199
   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205