Page 203 - เสียงจากประชาชน การต่อสู้เพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีร้องเรียน 2545-2550. เล่ม 4 : "ที่ดินในเขตป่าและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและป่า"
P. 203

การใชระบบสิทธิที่หลากหลายในการจัดการ  ภายนอก
            ที่ดิน เปนการเปดโอกาสใหชุมชนใชกลไกทางสังคม
            และวัฒนธรรมมารวมในการจัดการที่ดิน โดยไม        ๖) ใชแนวทางการพัฒนาชุมชนและการ
            ปลอยใหผูใดผูหนึ่งผูกขาดอำนาจจนกระทั่งสามารถ  จัดการทรัพยากรเชิงซอน

            นำที่ดินนั้นไปใชอยางไรก็ได เชน การออกโฉนด    สาเหตุหลักของปญหาในการจัดการทรัพยากร
            ที่ดินในลักษณะของโฉนดชุมชนที่ใหกรรมสิทธิ์ความ  ธรรมชาติ รวมถึงปญหาอื่นๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมใน
            เปนเจาของที่ดินแกสวนรวม แตมีการรวมกันแบง  ปจจุบัน คือการใชนโยบายเดียวในการพัฒนา หรือ
            สรรสิทธิการใชที่ดินใหแกสมาชิกแตละคนในชุมชน  ใชหลักการจัดการเชิงเดี่ยว (Linear System of
            โดยมีขอตกลงหรือเงื่อนไขการใชรวมกัน  เพื่อ  Management) ผูกขาดอำนาจไวที่สวนกลาง มุงเนน
            ปองกันไมใหมีการใชที่ดินที่จะสงผลกระทบดานลบ  ดานประสิทธิภาพเชิงกายภาพ และการสรางมูลคา
            หรือรักษาที่ดินไวใหเปนปจจัยการผลิตของ  ทางเศรษฐกิจ ขณะที่ไมคอยมีการพูดถึงทางเลือก
            เกษตรกรในชุมชน ปองกันการเปลี่ยนมือที่ดินไปสู  อื่นๆ เปนการทำลายความหลากหลายของระบบการ
            คนภายนอกชุมชน                              จัดการทรัพยากรตามจารีตวัฒนธรรมของทองถิ่น

                                                       ซึ่งรวมกันเรียกวา ระบบนิเวศ และระบบวัฒนธรรม
                  ๕)  การเสริมสรางความเขมแข็งของ     นอกจากนั้น การพัฒนาและการจัดการทรัพยากร
            องคกรชุมชน                                ของรัฐยังไมคอยใหความสำคัญกับประเด็นของความ
                    โดยการสนับสนุนการเกิดกลุมแหงการ  เปนธรรม โดยเฉพาะความเปนธรรมในการใชทรัพยากร
            เรียนรูรวมกัน เพื่อใหเกิดกระบวนการคิด วิเคราะห  ระหวางภาคการผลิตและสวนตางๆ ในสังคม
            และแกไขปญหารวมกัน อันจะนำไปสูการสรางสรรค   ไมเพียงเทานั้น  ภายใตระบบการจัดการ
            แนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน  ทรัพยากรเชิงเดี่ยวที่ผานมา  กฎหมายมักจะให

            กลุมองคกรชุมชนนี้อาจมีรากฐานมาจากความ    อำนาจหนวยงานใดหนวยงานหนึ่งเพียงแหงเดียวใน
            สัมพันธทางวัฒนธรรม หรือเปนกลุมองคกรที่เกิดขึ้น  การจัดการทรัพยากรประเภทหนึ่งอยางเบ็ดเสร็จ
            ใหมจากเงื่อนไขของปญหาความขัดแยง ซึ่งเปน  เด็ดขาดซึ่งทำใหเกิดปญหาความขัดแยงระหวาง
            องคกรที่ไมยึดติดอยูกับความสัมพันธในเชิงพื้นที่  หนวยงานตางๆ  ขณะเดียวกันก็เกิดปญหาการ
            การเสริมสรางความเขมแข็งขององคกรชุมชนเหลานี้  ประสานงานระหวางหนวยงานตางๆ จนบางครั้งไม
            จะตองหนุนเสริมปจจัยหลายๆ ดาน ไมวาจะเปน  สามารถแกไขปญหาการจัดการทรัพยากรในพื้นที่
            องคความรูในการผลิต การจัดการทรัพยากร และ  เดียวกันใหเกิดประสิทธิภาพได มีผลการศึกษาวิจัย
            การจัดการองคกร ฯลฯ เพื่อเปนทางเลือกใหชุมชน  จำนวนมากที่พบวา ชุมชนทองถิ่นหลายแหงยังคง
            นำไปผสมผสานกับองคความรูพื้นบาน และปรับใช  สามารถใชกฎเกณฑตามจารีตประเพณีในการ

            ใหสอดคลองกับความเปลี่ยนแปลงของสถานการณ  จัดการทรัพยากรไดอยางยั่งยืนสืบเนื่องจากอดีต
            แวดลอม การสนับสนุนทุนหมุนเวียน หรือปจจัยการ  จนถึงปจจุบัน ขณะที่บางชุมชนไดสรางสำนึกและ
            ผลิตที่จำเปน กลุมที่เขมแข็งนอกจากจะสามารถ  กฎเกณฑขึ้นมาใหม  ซึ่งเปนการปรับตัวอยางมี
            จัดการทรัพยากรธรรมชาติไดอยางยั่งยืนแลว ยังมี  พลวัตทามกลางเงื่อนไขของระบบนิเวศและวัฒนธรรม
            ศักยภาพในการแกไขปญหาความขัดแยงตางๆ ทั้ง  ในทองถิ่นที่เปลี่ยนแปลงอยูเสมอ เชน การตั้งระเบียบ
            ความขัดแยงที่เกิดขึ้นภายในชุมชน และความขัดแยง  และคณะกรรมการจัดการปาชุมชน การปรับประยุกต
            อันเกิดจากการเขามาแยงชิงทรัพยากรโดยอำนาจ  พิธีเลี้ยงผี และพิธีบวชปา มาผลิตซ้ำเพื่อตอกย้ำ


                    เสียงจากประชาชน
            202     การตอสูเพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีรองเรียน ๒๕๔๕-๒๕๕๐
   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208