Page 204 - เสียงจากประชาชน การต่อสู้เพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีร้องเรียน 2545-2550. เล่ม 4 : "ที่ดินในเขตป่าและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและป่า"
P. 204

อุดมการณในการเคารพธรรมชาติ การใชแผนที่ทาง  ลง ชุมชนจะมีความผิดตามกฎหมาย และถูกเพิกถอน
               ทหารเปนเครื่องมือในการกำหนดขอบเขตการ      เขตปาชุมชน คืนสิทธิการจัดการปาสูรัฐ
               จัดการปาของชุมชน เปนตน ขอคนพบนี้เองที่นำมา
               สูการนำเสนอหลักการจัดการเชิงซอน (Multiple      √ÿª∑⓬∫∑

               System of Management) (อานันท ๒๕๔๔:๒๒๓)        แมวาในปจจุบันการดำเนินโครงการหมูบาน
               ซึ่งเปดใหมีการใชแนวความคิดที่หลากหลายทั้งแนว  ปาไมแผนใหมจะยังไมมีความคืบหนามากนัก อัน
               ความคิดดานวิทยาศาสตร สังคมศาสตร รัฐศาสตร  เนื่องมาจากโครงการไมไดรับการจัดสรรงบประมาณ
               เศรษฐศาสตร ฯลฯ ระบบสิทธิที่หลากหลาย ไมวาจะ  ในปลาสุด พ.ศ.๒๕๔๙-๒๕๕๐ แตแผนการดำเนิน
               เปนสิทธิของรัฐ สิทธิของปจเจก สิทธิของชุมชน  โครงการก็ยังคงมีอยูภายใตมติคณะรัฐมนตรีที่ได
               และผูมีสวนไดเสียที่หลากหลาย เชน รัฐ นักวิชาการ  เห็นชอบในหลักการการดำเนินโครงการไปแลวในป
               นักพัฒนาเอกชน  ชาวบาน  ฯลฯ  เขามารวมกัน  พ.ศ.๒๕๔๗ ทามกลางความหวาดระแวง และไมเชื่อ
               จัดการทรัพยากรหรือพื้นที่หนึ่งๆ โดยไมยึดติดอยู  ใจของชุมชนในพื้นที่เปาหมายและภาคประชาสังคม
               กับการจัดการเชิงเดี่ยวที่ยึดแนวคิดทางวิทยาศาสตร  ตอโครงการฯ รวมทั้งตอแนวนโยบายการจัดการ

               ใชระบบกรรมสิทธิ์แบบเดียว  คือ  สิทธิการเปน  ทรัพยากรของรัฐในภาพรวม
               เจาของอยางเบ็ดเสร็จเด็ดขาด หรือการสัมปทาน     แทที่จริงแลวโครงการหมูบานปาไมแผนใหม
               อำนาจใหแกหนวยงานใดหนวยงานหนึ่งเพียงแหง  เปนเพียงโครงการของรัฐโครงการหนึ่งที่ถูกพัฒนา
               เดียวในการจัดการทรัพยากรหนึ่งๆ ซึ่งปรากฏการณ  ขึ้นใหม  ภายใตกระบวนทัศนแบบเดิมๆ  ในการ
               ปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมขณะนี้ ไดพิสูจนใหเห็น  จัดการทรัพยากรธรรมชาติ ตัวอยางจากกรณีศึกษา
               อยางชัดเจนแลววา การจัดการดังกลาวไรประสิทธิภาพ  ไดสะทอนวาหากยังคงเดินหนาโครงการนี้ตอไปเพื่อ
               และไมสอดคลองกับความเปนจริงทางสังคม      ใหครบพื้นที่เปาหมายในพื้นที่ ๗๐ จังหวัดอาจจะ

                     ภายใตหลักการจัดการเชิงซอนนี้ ใหความ  ทำใหเกิดปญหาความขัดแยงรุนแรงตามมา ทั้งนี้
               สำคัญกับสิทธิชุมชน การมีสวนรวมของชุมชนทอง  เนื่องจากพื้นที่เปาหมายของโครงการนั้นเปนพื้นที่ที่
               ถิ่น และกฎเกณฑตามประเพณีของทองถิ่น มีกลไก  มีความขัดแยงระหวางเจาหนาที่รัฐกับชุมชนทองถิ่น
               การตรวจสอบและถวงดุล (Check and Balance)  ในประเด็นคนกับปามาแตเดิม แตโครงการฯ กลับไม
               โดยใหบทบาทแกภาคประชาสังคม รูปธรรมของ     ไดพิจารณาถึงสาเหตุมูลฐานของความขัดแยง
               แนวคิดการจัดการเชิงซอน ปรากฏอยูในรางกฎหมาย  ดังกลาว และมิไดพยายามที่จะแกไขที่สาเหตุเหลา
               ปาชุมชน ฉบับประชาชน ซึ่งผลักดันโดยเครือขาย  นั้น หากยังคงเดินหนาแนวนโยบายและแผนปฏิบัติ
               ปาชุมชนทั่วประเทศ เปนรางกฎหมายที่เปดโอกาส  การการจัดการปาไมภายใตกระบวนทัศนเดิมๆ ที่รัง
               ใหชุมชนเสนอแผนการจัดการปาชุมชนในทองถิ่น  แตจะขยายความรุนแรงของปญหาใหเพิ่มมากขึ้น

               ของตนเอง  ไมวาจะเปนการกำหนดขอบเขตปา    การแกไขปญหาดังกลาว จำเปนอยางยิ่งที่จะตอง
               ชุมชน จำแนกประเภทปา และวางกฎเกณฑการใช   ดำเนินการควบคูกันไป ทั้งการแกไขปญหาเฉพาะ
               ประโยชน  ซึ่งหมายความวาสิทธิการจัดการทรัพยากร  หนา ไปจนถึงการปรับเปลี่ยนเชิงกระบวนทัศนและ
               เปนของชุมชนทองถิ่น แตสิทธิการเปนเจาของปายัง  นโยบายในการจัดการทรัพยากรปาไม ซึ่งแมวาจะ
               เปนของรัฐ ซึ่งการจัดการปาของชุมชนจะถูกตรวจ  ตองอาศัยระยะเวลา แตก็เปนสิ่งจำเปนที่จะตองมี
               สอบโดยหนวยงานรัฐ และองคกรเอกชน หากพบ     การปรับเปลี่ยน
               วาการจัดการของชุมชนทำใหปามีสภาพเสื่อมโทรม


                                                                              เสียงจากประชาชน
                                                     “ที่ดินในเขตปาและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและปา”   203
   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209