Page 202 - เสียงจากประชาชน การต่อสู้เพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีร้องเรียน 2545-2550. เล่ม 4 : "ที่ดินในเขตป่าและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและป่า"
P. 202

๑) จัดการพื้นที่อยางเปนบูรณาการ และ  ความเหมาะสมและยั่งยืน และควรเปดโอกาสใหมี
               ไมแยกคนออกจากปา                          การนำระบบความรูที่หลากหลายมาผสมผสานและ
                      ขอเสนอที่เปนรูปธรรมคือ ไมควรแยกการ  ใชรวมกัน

               แกไขปญหาที่ดินในเขตปาออกมาเดี่ยวๆ หากแต
               ควรจะกำหนดใหเปนสวนหนึ่งของแผนชุมชน ซึ่ง      ๓) เสริมสรางอำนาจของชุมชนทองถิ่น
               ประกอบไปดวยการแกไขปญหาอื่นๆ อยางรอบดาน  ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
               ไป พรอมๆ กัน เชน ควบคูกับการจัดการปา การ    งานศึกษาวิจัยหลายฉบับยืนยันวาสาเหตุหนึ่ง
               จัดการน้ำ การจัดการเกษตร เปนตน หากชุมชน  ที่ทำใหชาวบานตัดไมทำลายปา ทำลายทรัพยากร
               ทองถิ่นสามารถวางแผนบริหารจัดการพื้นที่ในทอง  ในทองถิ่นของตนเอง เกิดจากความรูสึกสูญเสียอำนาจ
               ถิ่นของตนเองไดอยางชัดเจนและเหมาะสมก็จะ   ในการควบคุมทรัพยากรสวนรวม เพราะถูกรัฐนำไป
               ทำใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น  สามารถปองกันและ  ใหนักธุรกิจเอกชนเขามาแสวงหาผลประโยชน โดย
               คลี่คลายความขัดแยงที่เกิดขึ้นได          ที่กลุมคนเหลานั้นไมเคยมีสวนในการดูแลรักษา

                                                          ทรัพยากร เทากับเปนการทำใหทรัพยากรสวนรวม
                     ๒)  ใชองคความรูที่หลากหลายในการ   ของชุมชนอยูในสภาวะไรสิทธิ  (Open  Access)
               จัดการทรัพยากร                             แตละคนตางเขามาแสวงหาผลประโยชนของตนเอง
                     นโยบายรัฐในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ  โดยไมคำนึงถึงการดูแลรักษาอีกตอไป
               ในปจจุบัน วางอยูบนพื้นฐานความรูทางวิทยาศาสตร  หากชุมชนมีอำนาจในการจัดการทรัพยากร
               ซึ่งเปนระบบความรูเชิงเดี่ยว หรือใชเพียงระบบ  โดยเฉพาะการจัดการปาชุมชน ก็จะทำใหชุมชน
               ความรูแบบเดียวเทานั้น แตในสภาพความเปนจริง  สามารถพัฒนาทางเลือกในการหาเลี้ยงชีพอยาง

               แลวความรูเชิงเดี่ยวไมอาจนำไปใชไดกับทุกสถานที่  เหมาะสมและยั่งยืน ซึ่งเปนการลดแรงกดดันตอปา
               หรือทุกสถานการณ โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานการ  และที่ดินทำการเกษตร โดยไมตองมีการแผวถางปา
               จัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ระบบนิเวศของพื้นที่  เปลี่ยนเปนที่ดินทำกินเพิ่มขึ้น  หรือการใชที่ดิน
               แตละแหงมีความแตกตางหลากหลายอยางมาก มี  ทำการผลิตอยางเขมขน จนสงผลกระทบตอสภาพ
               คุณคาและความหมายตอทองถิ่นแตละแหงแตกตาง  แวดลอม
               กันไป ความรูของชุมชนทองถิ่นที่เกิดขึ้นจากกระบวน
               การเรียนรูผานประสบการณตรงในการอยูรวมกับ    ๔.  ใชระบบสิทธิที่หลากหลายในการ
               ระบบธรรมชาติที่มีลักษณะจำเพาะ เปนความรูที่มี  จัดการทรัพยากร
               ความสอดคลองกับระบบนิเวศและระบบวัฒนธรรม         หลักการตามกฎหมายในปจจุบันมีแนวทาง

               ของทองถิ่นนั้นๆ สามารถตอบสนองตอความตองการ  การจัดการที่ดินดวยระบบกรรมสิทธิ์เพียง ๒  แบบ
               ในการยังชีพและเอื้อใหเกิดความยั่งยืนตอระบบ  คือ สิทธิของรัฐ และสิทธิของเอกชน ซึ่งทำใหที่ดิน
               นิเวศซึ่งหมายความถึงความยั่งยืนของชุมชนดวย  อยูภายใตกลไกของระบบตลาดและทุน  ทำให
               เชนกัน ขณะเดียวกันยังพบวาชุมชนทองถิ่นหลาย  เกษตรกรยากจนในชนบทซึ่งเปนกลุมคนที่เสีย
               แหงผานประสบการณการจัดการที่ดินมาแลวหลายรูป  เปรียบทางเศรษฐกิจมาตลอดตองสูญเสียทรัพยากร
               แบบ การแกไขปญหาจึงควรเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร  ที่ดินซึ่งเปนปจจัยการผลิตที่สำคัญ และทำใหเกิด
               การจัดการที่ดินของชุมชนแตละแหงในชวงที่ผานมา  แรงกดดันตอปาเพิ่มขึ้นหากชุมชนในเขตปาเขาไป

                     ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติใหเกิด   บุกเบิกพื้นที่ปาเพื่อแสวงหาที่ดินทำกินแหงใหม

                                                                              เสียงจากประชาชน
                                                     “ที่ดินในเขตปาและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและปา”   201
   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207