Page 112 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะนโยบายหรือมาตรการเพื่อคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของผู้สูงอายุ: กรณีการเลือกปฏิบัติในผู้สูงอายุ
P. 112

54 | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ (Final Report)


                       2.5.1.3 การสร้างความมั่นใจว่าจะมีสภาพแวดล้อมที่เกื้อหนุนและเหมาะสม
                             (Ensuring enabling and supportive environment)

                       การด าเนินงานที่ผ่านมานับตั้งแต่พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 มีผลบังคับใช้ ประเทศไทย
             โดยความร่วมมือของภาครัฐ และเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมด าเนินงานด้านผู้สูงอายุมากขึ้นเป็นล าดับ เห็นได้จาก
             ความร่วมมือในเรื่องของการเสริมสร้างความรู้เพื่อให้ทุกภาคส่วนของสังคมในการร่วมกันจัดให้มีสิ่งอ านวยความ
             สะดวกส าหรับผู้สูงอายุเพื่อให้โอกาสแก่ผู้สูงอายุในการเข้ามามีส่วนร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ในสังคมมากยิ่งขึ้น

             อย่างไรก็ตาม แม้ว่าการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างพื้นฐานในเรื่องการจัดให้มีสิ่งอ านวยความสะดวกส าหรับ
             ผู้สูงอายุจะยังไม่มีความเด่นชัดมากนักในขณะนี้ แต่ข้อมูลเชิงประจักษ์ที่เห็นได้มากขึ้นเป็นล าดับก็คือความ
             ร่วมมือของภาคราชการที่เป็นหน่วยให้บริการสาธารณะและภาคธุรกิจบริการได้มีความพยายามที่จะริเริ่มที่จัด
             ให้มีสิ่งอ านวยความสะดวกแก่ผู้สูงอายุในการเข้าใช้บริการได้อย่างสะดวกสบายมากขึ้น อาทิ การจัดให้มีห้องน้ า

             แบบนั่งราบ มีการติดตั้งราวจับ มีการจัดท าทางลาดส าหรับรถเข็น ฯลฯ

                    2.5.2 ข้อตกลงความร่วมมือด้านผู้สูงอายุในกรอบอาเซียน


                    ข้อตกลงความร่วมมือด้านผู้สูงอายุในกรอบอาเซียน มีจ านวน 2 ฉบับ  ได้แก่

                       2.5.2.1 ปฏิญญากัวลาลัมเปอร์ว่าด้วยเรื่องผู้สูงอายุ
                       การเพิ่มขีดความสามารถของผู้สูงอายุในอาเซียน (Kuala Lumpur Declaration on Ageing:

             Empowering Older Persons in ASEAN) ซึ่งเป็นผลจากการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านสวัสดิการสังคมและ
             การพัฒนา ครั้งที่ 11 (11  SOMSWD) ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย และได้รับการรับรองจากผู้น า
                                th
             อาเซียน ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 27 ในปี พ.ศ. 2558 มีเนื้อหาส าคัญในการตระหนักว่า ภูมิภาค

             จ าเป็นต้องปรับการดูแลสุขภาพและระบบการสนับสนุนทางสังคมเพื่อตอบสนองความท้าทายที่เกิดขึ้นใหม่
             และตระหนักถึงการสร้างเสริมสุขภาวะให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรง มีความกระตือรือร้นและสร้างสรรค์
             โดยจัดให้มีสภาพแวดล้อมที่เอื้ออ านวยและเกื้อหนุน โดยมีประเด็นเรื่องการสูงวัยอย่างมีคุณภาพให้เป็น
             ระเบียบเป็นวาระดับชาติ โดยเน้นใน 3 เรื่องหลัก ดังนี้
                       1) การดูแลและสุขภาวะของผู้สูงอายุ

                       2) เพิ่มขีดความสามารถทางด้านเศรษฐกิจ
                       3) การสร้างสภาพแวดล้อมเกื้อหนุนต่อการเป็นสังคมที่ไม่ทอดทิ้งใครไว้ข้างหลัง


                       2.5.2.2 ปฏิญญาบรูไนดารุสซาลามว่าด้วยการเสริมสร้างความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว
                       ก า ร ดู แ ล ผู้ สู ง อ า ยุ  (Brunei Darussalam Declaration on Strengthening Family
             Institution: Caring for Elderly) ซึ่งเป็นผลจากการประชุมรัฐมนตรีอาเซียนว่าด้วยงานสวัสดิการสังคมและ
                              th
             การพัฒนา ครั้งที่ 7 (7  AMMSWD) ณ ประเทศกัมพูชา และได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2553
             ณ กรุงบันดาร์เสรีเบกาวัน ประเทศบรูไนดารุสซาลาม มีเนื้อหาส าคัญในการเสริมสร้างความร่วมมือระหว่าง
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117