Page 104 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 104
มาตรการหรือแนวทางที่เหมาะสมในการป้องกันการละเมิด กรณีที่คนพิการเดินทางโดยจองตั๋วเครื่องบินไม่ถึง
สิทธิมนุษยชน รวมทั้งการเยียวยา ผู้ได้รับความเสียหาย ๔๘ ชั่วโมง ก่อนออกเดินทาง หากไม่สามารถจัดการ
ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตามมาตรา ๒๔๗ (๑) ของ อ�านวยความสะดวกและการช่วยเหลือคนพิการ ผู้ถูกร้อง
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ควรที่จะมีการแจ้งให้คนพิการทราบ เพื่อป้องกันปัญหา
และมาตรา ๒๖ (๑) แห่งพระราชบัญญัติประกอบ ที่อาจเกิดขึ้นและเพื่อให้คนพิการสามารถพิจารณา
รัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประกอบการตัดสินใจได้
พ.ศ. ๒๕๖๐ และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย
กฎ ระเบียบ หรือค�าสั่งใด ๆ เพื่อให้สอดคล้องกับหลัก (๓) ควรจัดให้มีการอบรมผู้บริหารและเจ้าหน้าที่
สิทธิมนุษยชนตามมาตรา ๒๔๗ (๓) ของรัฐธรรมแห่ง ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเจ้าหน้าที่ที่มีอ�านาจหน้าที่
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และมาตรา ๒๖ ในการตัดสินใจว่าจะให้ผู้โดยสารเดินทางได้หรือไม่ ให้มี
(๓) แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะ ความเข้าใจและตระหนักถึงสิทธิของคนพิการในการเข้าถึง
กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ดังนี้ การบริการสาธารณะ ทั้งข้อจ�ากัดและความจ�าเป็นที่ต้อง
ใช้บริการของผู้โดยสารกลุ่มดังกล่าว รวมทั้งวิธีการสื่อสาร
มาตรการหรือแนวทางที่เหมาะสมในการป้องกันหรือ ที่เหมาะสมแก่ผู้ใช้บริการที่เป็นคนพิการ เพื่อป้องกันมิให้
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
แก้ไขการละเมิดสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการเยียวยาผู้ได้รับ เกิดปัญหากับผู้รับบริการในลักษณะเช่นเดียวกับค�าร้องนี้
ความเสียหายจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน ขึ้นอีก โดยให้คนพิการร่วมเป็นวิทยากรในการอบรม
บริษัทสายการบินแห่งหนึ่ง (ผู้ถูกร้อง) ควรด�าเนินการ ส่วนกรณีที่ไม่อนุญาตให้ผู้โดยสารคนใดเดินทางและมีสิทธิ
ดังนี้ ได้รับคืนค่าโดยสาร (refund) ควรปรับปรุงระบบและ
(๑) ควรเยียวยาผู้ร้องทั้งสองตามความเสียหาย ขั้นตอนการด�าเนินการให้ได้รับคืนค่าโดยสารโดยไม่ล่าช้า
ที่เกิดขึ้นจริงเพราะเหตุแห่งกรณีตามค�าร้อง และเยียวยา
ผู้โดยสารซึ่งเป็นผู้ร่วมเดินทาง (escort /accompany) ข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและ
กับผู้ร้องที่ ๒ โดยคืนค่าโดยสาร (refund) จากท่าอากาศยาน คุ้มครองสิทธิมนุษยชน
นานาชาติดอนเมือง - ท่าอากาศยานนานาชาติเชียงใหม่ (๑) กระทรวงคมนาคมควรด�าเนินการ ดังนี้
๑.๑ จัดให้มีระเบียบและแนวปฏิบัติในการให้บริการ
(๒) กรณีที่คนพิการเดินทางโดยจองตั๋วเครื่องบินเกิน ของสายการบินต้นทุนต�่าส�าหรับคนพิการให้เป็น
๔๘ ชั่วโมง ก่อนออกเดินทาง ควรแจ้งเงื่อนไขการให้ มาตรฐานเดียวกันเพื่อเป็นแนวทางให้ทุกสาย
บริการต่าง ๆ ให้มีความชัดเจน อาทิ การแจ้งขอรับบริการ การบินปฏิบัติต่อคนพิการอย่างมีประสิทธิภาพ
เก้าอี้รถเข็น (wheelchair) เก้าอี้รถเข็นในห้องโดยสาร และเท่าเทียมกัน
(cabin wheelchair) หรืออุปกรณ์ยกคนพิการหรือเก้าอี้ ๑.๒ เป็นหน่วยงานกลางในการประสานความร่วมมือ
รถเข็นขึ้นเครื่องบิน (hydraulic lift) โดยแจ้งล่วงหน้า กับภาคีเครือข่ายคนพิการให้เข้ามามีส่วนร่วม
ก่อนเดินทางไม่น้อยกว่า ๔๘ ชั่วโมง ในขั้นตอนการซื้อบัตร ในการให้ข้อคิดเห็นและข้อแนะน�าต่อกิจการ
โดยสารการจองที่นั่ง และแสดงตนเพื่อการขึ้นเครื่องบิน การขนส่งสาธารณะทางอากาศยาน อาทิ
(check in) ผ่านระบบเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในช่องทาง การก่อสร้างอาคารและสถานที่ การจัดหาวัสดุ
ต่าง ๆ โดยออกแบบระบบการให้บริการข้อมูลข่าวสาร อุปกรณ์และเครื่องอ�านวยความสะดวก การให้
ดังกล่าวให้คนพิการประเภทต่าง ๆ สามารถเข้าถึงได้โดย บริการของผู้ประกอบกิจการและเจ้าหน้าที่
สะดวกและเหมาะสม เช่น การบริการจองบัตรโดยสาร ภายใต้การค�านึงถึงหลักการการออกแบบเพื่อ
ออนไลน์ ควรจะมีประกาศในลักษณะข้อความแจ้งเตือน การใช้งานของคนทุกกลุ่ม ในสังคมอารยสถาปัตย์
บนเว็บไซต์ หรือก่อนท�าการยืนยันตกลงซื้อบัตรโดยสาร (Universal Design) และความต้องการพิเศษ
ออนไลน์ ควรมีช่องแสดงความตกลงหรือปฏิเสธขอรับ ของคนพิการแต่ละประเภท
บริการช่วยเหลือเพิ่มเติมก่อน จึงจะสามารถตกลงซื้อบัตร
โดยสารออนไลน์ได้ (๒) กรมท่าอากาศยานควรด�าเนินการตามกฎหมาย
ว่าด้วยคนพิการ อาทิ พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนา
102