Page 107 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 107
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม พบข้อท้าทาย ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และกฎหมาย
เกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาแรงงานประมงอันเนื่องจาก รายงานฉบับนี้แบ่งเป็น ๔ ส่วน คือ (๑) สถานการณ์ 1
การที่ประเทศไทยยังไม่ได้เป็นภาคีอนุสัญญา ILO ฉบับที่ ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง เช่น การทรมาน
๘๖ และ ๙๘ ฯลฯ และการบังคับให้สูญหาย สิทธิในกระบวนการยุติธรรม 2
เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เสรีภาพสื่อมวลชน
สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในเหตุการณ์เฉพาะ เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบ (๒) สถานการณ์สิทธิ 3
พบว่าสถานการณ์โดยรวมของปัญหาการค้ามนุษย์ ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เช่น สิทธิด้านการ
ในประเทศไทยทุกภาคส่วนมีความพยายามแก้ไขปัญหา ศึกษา ด้านสุขภาพ ด้านการท�างาน (๓) สถานการณ์
ทั้งโดยการออกกฎหมาย มาตรการต่าง ๆ เร่งรัด สิทธิมนุษยชนของกลุ่มบุคคล เช่น เด็ก สตรี กลุ่มวิถีและ 4
กระบวนการด�าเนินการ โดยน�าข้อเสนอแนะและ อัตลักษณ์ทางเพศ ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้มีปัญหาสถานะ
ข้อสังเกตของคณะกรรมการประจ�าตราสารระหว่าง รวมถึง (๔) การประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนใน 5
ประเทศด้านสิทธิมนุษยชนมาเป็นกรอบ ท�าให้สถานการณ์ ๕ ประเด็นปัญหาหรือพื้นที่ส�าคัญในการปฏิบัติงานประจ�าปี
ค้ามนุษย์ในประเทศไทยในปี ๒๕๕๙ ลดความรุนแรงลง ได้แก่ สถานการณ์การค้ามนุษย์ สถานการณ์ในพื้นที่
ส่วนสถานการณ์ในจังหวัดชายแดนใต้ พบว่าเด็กและสตรี จังหวัดชายแดนภาคใต้ ธุรกิจและสิทธิมนุษยชน
โดยเฉพาะกลุ่มที่สูญเสียผู้น�าครอบครัวในเหตุการณ์ไม่สงบ สิทธิชุมชนและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
ยังคงได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างเรื้อรัง สิ่งแวดล้อม และนักปกป้องสิทธิมนุษยชน
และมีข้อเสนอให้รัฐจัดท�าแนวทางด�าเนินการเยียวยา
ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพต่อผู้ได้รับผลกระทบ ข้อเสนอแนะที่ส�าคัญ จ�าแนกตามสถานการณ์
กลุ่มนี้ ฯลฯ สิทธิมนุษยชนแต่ละด้าน ดังนี้
สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของกลุ่มเฉพาะ กสม. ยังมี สถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
ความกังวลต่อสถานการณ์สิทธิของกลุ่มผู้สูงอายุไร้สัญชาติ มีข้อเสนอแนะ เช่น การทรมานและบังคับให้บุคคล
ขณะที่มีเด็กและเยาวชนไร้รัฐไร้สัญชาติที่อยู่ในสถาบัน สูญหาย รัฐบาลควรตราพระราชบัญญัติป้องกันและ
การศึกษา และไม่มีเอกสารพิสูจน์ตัวบุคคล (เด็กรหัส G) ปราบปรามการทรมานฯ การก�าหนดให้การกระท�าทรมาน
และเด็กและเยาวชนที่เติบโตในประเทศไทย (เกิดนอก และบังคับให้สูญหายเป็นความผิดอาญา เสรีภาพในการ
ประเทศไทย) ยังประสบปัญหาการพัฒนาสถานะบุคคล แสดงความคิดเห็นและการชุมนุม พบว่า ผู้บังคับใช้
ตามกฎหมายไทย ส่วนกลุ่มคนพิการมีข้อเสนอแนะว่า กฎหมายพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. ๒๕๕๘ ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
รัฐควรขับเคลื่อนนโยบาย แนวทางในการส่งเสริมคุณภาพ ยังขาดความชัดเจนในการพิจารณาระหว่างการชุมนุม
ชีวิตคนพิการให้เข้าถึงครอบคลุมทุกพื้นที่โดยเฉพาะ ที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการเมือง และการใช้ดุลพินิจ
พื้นที่ชนบทหรือพื้นที่ห่างไกล และควรปฏิบัติการเชิงรุก ที่เป็นการจ�ากัดสิทธิมากกว่าการส่งเสริมและคุ้มครอง
ในการสร้างความตระหนักรู้แก่สังคมให้เข้าใจถึงสิทธิของ ตามรัฐธรรมนูญ ฯลฯ
คนพิการ ฯลฯ
สถานการณ์สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
๓.๒.๒ รายงานผลการประเมินสถานการณ์ มีข้อเสนอแนะ เช่น รัฐบาลควรเร่งด�าเนินการปฏิรูปการศึกษา
ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทยปี ๒๕๖๐ ให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
การวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินปีนี้ ใช้มาตรฐาน พุทธศักราช ๒๕๖๐ ควรด�าเนินการอย่างต่อเนื่องในการ
ที่ก�าหนดในเชิงตัวชี้วัด และหลักเกณฑ์ตามสนธิสัญญา เข้าถึงสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ผ่านระบบหลักประกัน
หลักด้านสิทธิมนุษยชน และข้อเสนอแนะตามกลไก สุขภาพแห่งชาติของกลุ่มวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ การให้ชุมชนเป็น
กฎบัตรสหประชาชาติ รวมทั้งหลักการสิทธิมนุษยชน ศูนย์กลางในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ฯลฯ
105