Page 13 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 13
๑๑
๒. สาระสําคัญของเรื่อง
กสม. ไดพิจารณาเอกสารที่เกี่ยวของ ขอกฎหมาย หลักการสิทธิมนุษยชน สถิติการรองเรียน รายงานสถานการณ
สิทธิมนุษยชนประจําป รายงานการศึกษาวิจัย ขอมูลจากการจัดกิจกรรมเวทีสาธารณะ กสม. พบประชาชน ๕ ภูมิภาค
และเวทีสัมมนาวิชาการแลวเห็นควรมีขอเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน
เกี่ยวกับกระบวนการจัดทําแผนปฏิบัติการระดับชาติวาดวยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน เพื่อใหสอดคลองกับหลักสิทธิมนุษยชน
ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๔๗ (๓ ) และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
วาดวยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๖ (๓) และมาตรา ๔๒ ดังนี้
๒.๑ ควรระบุการจัดลําดับความสําคัญของปญหา
และมาตรการแกไขปญหาดานธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน
ของประเทศไทย รวมถึงมาตรการปองกันและเยียวยา
ที่มีประสิทธิภาพกรณีเกิดผลกระทบดานสิทธิมนุษยชน
ที่เกี่ยวของกับกิจกรรมทางธุรกิจ โดยอาจใชขอมูล
จาก กสม. รวมถึงรายงานการตรวจสอบการละเมิด
สิทธิมนุษยชนที่ กสม. เคยเสนอตอคณะรัฐมนตรีและ
หนวยงานที่เกี่ยวของเปนสวนหนึ่งในการพิจารณาประกอบ
กับขอมูลอื่น ๆ จากหนวยงานของรัฐ ภาคประชาสังคม
และผูมีสวนไดสวนเสียเพื่อนําขอมูลเหลานี้ไปวิเคราะห
และจัดทํานโยบายรวมถึงมีมาตรการการแกไขปญหา
ที่รอบดานและมีประสิทธิภาพ
๒.๒ ควรกําหนดหลักเกณฑเบื้องตนที่องคกรธุรกิจ
ที่ตั้งอยูในดินแดน หรือเขตอํานาจอธิปไตยของไทยตอง
ปฏิบัติตามหลักการชี้แนะแหงสหประชาชาติวาดวย
ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (UNGP) โดยในการริเริ่มหรือ
พัฒนาโครงการตองคํานึงถึงประโยชนสาธารณะ
สิทธิการมีสวนรวมของประชาชนและผลกระทบตอประชาชน
ในพื้นที่ในโครงการกอนตัดสินใจดําเนินโครงการ
และพิจารณาระบุแผนงานในการจัดตั้งกลไกหรือกําหนด
ภารกิจการกํากับดูแลการลงทุนในตางประเทศของ
ผูลงทุนสัญชาติไทยใหเคารพตอหลักการสิทธิมนุษยชน