Page 14 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 14
๑๒
๒.๓ ควรจัดทํารายงานการประเมินสภาพแวดลอม
สถานการณสําคัญดานธุรกิจ และกรณีการละเมิด
สิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้น ทั้งในประเทศและตางประเทศ
ที่มีผลกระทบตอประเทศไทย (National Baseline
Assessment: NBA) รวมทั้งศึกษาประเด็นปญหา
และชองวางและการประเมินแนวโนมสถานการณดานธุรกิจ
กับสิทธิมนุษยชนและปญหาสําคัญ ที่เกิดขึ้นภายใน
ประเทศ ในชวงระยะเวลาที่แผนจะมีผลบังคับใชระยะเวลา
ไมตํ่ากวา ๕ ป โดยควรมีความเฉพาะเจาะจงกับบริบท
และระบุถึงปญหาผลกระทบตอสิทธิมนุษยชนอยาง
รายแรงของภาคธุรกิจตามความเปนจริง ซึ่งอยางนอย
ควรประกอบดวยสถานการณที่เปนปจจัยเอื้อ อุปสรรค
และความทาทายดานธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน
ของประเทศไทย จํานวน ๔ มิติ ประกอบไปดวย มิติดาน
เศรษฐกิจ มิติดานสังคม มิติดานสิ่งแวดลอม และมิติทาง
ดานการเมืองการปกครอง
๒.๔ ควรระบุถึงการนํานโยบายวาดวยธุรกิจ
กับสิทธิมนุษยชนของรัฐบาลไปสูการปฏิบัติอยางเปน
รูปธรรม เพื่อแกไขปญหาดานธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน
ในกรณีเฉพาะใด ๆ และควรระบุถึงปญหาอุปสรรคและ
ขอทาทายในการบังคับใชกฎหมาย ซึ่งอาจมีผลกระทบ
ตอสิทธิมนุษยชน และระบุขั้นตอนที่มีประสิทธิภาพ
ในการแกไขปญหาดังกลาว เชน การจัดสรรงบประมาณ
ที่เพียงพอ การพัฒนาศักยภาพของเจาหนาที่ผูบังคับ
ใชกฎหมายและการเพิ่มมาตรการเพื่อแกไขปญหา
การทุจริตของเจาหนาที่ โดยอาจระบุมาตรการสงเสริม
สนับสนุนใหภาคธุรกิจจัดทํารายงานการตรวจสอบ
การละเมิดสิทธิมนุษยชนอยางรอบดาน (Human Rights
Due Diligence: HRDD) และเปดเผยตอสาธารณชน
รวมถึงความเสี่ยงและผลกระทบดานสิทธิมนุษยชน
(Human Rights Risk and Impact Assessment)
เพื่อใหมีการสงเสริมความโปรงใสและความรับผิดชอบของ
บริษัทในประเด็นที่เกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชนอันเกิดขึ้น
จากการดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจ