Page 30 - แนวปฏิบัติเพื่อการจัดการร่วมประเด็นสิทธิมนุษยชน : สิทธิชุมชนกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และการพัฒนารวมถึงสิทธิอื่นที่เกี่ยวข้อง
P. 30
30 สำ�นักงานคณะกรรมการสำิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
แม้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ได้รับรองสิทธิชุมชน มาตั้งแต่ปี ๒๕๔๐
แต่การคุ้มครองสิทธิชุมชนยังมีข้อจ�ากัดอยู่
พอสมควร ส่วนหนึ่งเป็นเพราะไม่ได้มีการตราหรือ
แก้ไขกฎหมายล�าดับรองให้สอดคล้องกับหลักการ มีการร้องเรียน
ประเด็นสิทธิชุมชน
ตามรัฐธรรมนูญ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ในการ จำัดการ
และสิ่งแวดล้อมยังคงเป็นระบบการจัดการโดยรัฐ ทรัพยากรธรรมชาติ
ประชาชนหรือชุมชนมิได้มีส่วนร่วมอย่างแท้จริง และสิ่งแวดล้อมต่อ
ท�าให้เกิดความขัดแย้งระหว่างรัฐและประชาชน กสม. จำ�นวนมาก
โดยสูงสุดเป็นอันดับ
มากกว่าที่จะเป็นการร่วมมือกัน ยิ่งกว่านั้น ที่ ๒ คือ ๑,๑๕๓
หลายกรณีน�าไปสู่การละเมิดสิทธิของประชาชน เรื่อง จำากกรณี
และชุมชน โดยนับตั้งแต่ ปี ๒๕๕๔ ถึงปัจจุบัน ร้องเรียนทั้งหมด
๕,๗๐๘ เรื่อง
มีการร้องเรียนประเด็นสิทธิชุมชนกับการจัดการ หรือคิดเป็นร้อยละ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมต่อ กสม. ๒๐.๒๐ ของเรื่อง
จ�านวนมาก โดยสูงสุดเป็นอันดับที่ ๒ คือ ๑,๑๕๓ เรื่อง ร้องเรียนทั้งหมด
จากกรณีร้องเรียนทั้งหมด ๕,๗๐๘ เรื่อง หรือ
คิดเป็นร้อยละ ๒๐.๒๐ ของเรื่องร้องเรียนทั้งหมด ๑๔
เมื่อพิจารณาจากประเด็นการร้องเรียนนับตั้งแต่
ปี ๒๕๕๐ - ๒๕๖๒ พบว่า ประเด็นที่มีการร้องเรียน
ได้แก่ การจัดการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ การประกอบ
กิจการโรงงานอุตสาหกรรม การด�าเนินโครงการ
โรงไฟฟ้า เหมืองแร่ การจัดการน�้า การจัดการขยะ/
สิ่งปฏิกูล การประกอบกิจการฟาร์มเลี้ยงสัตว์
รวมถึงการด�าเนินโครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษ
โดยผู้ที่ถูกร้องเรียน มีทั้งที่เป็นภาคเอกชน
รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานราชการ ทั้งส่วนกลาง
ส่วนภูมิภาค และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ในระดับต่าง ๆ
๑๔ ข้อมูลจากระบบสารสนเทศเพื่อการรวบรวมและบริการสารสนเทศด้านสิทธิมนุษยชน ส�านักงาน กสม. เข้าถึงวันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๖๓