Page 152 - รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัย เรื่อง การประเมินข้อมูลพื้นฐานระดับชาติด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชน : นโยบาย กฎหมาย และมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนของประเทศ
P. 152
ในกรณีของรัฐวิสาหกิจ เลือกปฏิบัติกับผู้ติดเชื้อ HIV - ปรับปรุงระเบียบการรับเข้าทำงาน โดยให้สิทธิในการ
เข้าถึงการจ้างงานแก่ผู้ติดเชื้อ
ไม่ได้ตรวจสอบห่วงโซ่อุปทาน - รัฐวิสาหกิจควรตรวจสอบการทำ HRDD ของภาคธุรกิจใน
ในกำกับว่ามีการละเมิดสิทธิ ห่วงโซ่อุปทานที่ถูกจัดจ้าง
มนุษยชนหรือไม่
จ้างงานผู้พิการไม่ครบตาม - กำหนดเป็น KPI ขององค์กร
สัดส่วน
10. อื่น ๆ กลไกการสนับสนุนทั่วไป - กสม. ทำหน้าที่เป็นผู้ไกล่เกลี่ยในบางกรณี
- การพิจารณาให้รางวัลธุรกิจที่แก้ไขปัญหาการละเมิดได้
อย่างดีเยี่ยม
- การปรับเกณฑ์ พ.ร.บ. จัดซื้อจัดจ้างให้มีมิติของสิทธิ
มนุษยชนเข้าไปด้วย
ที่มา: ประมวลผลจากข้อมูลการสัมภาษณ์และการจัดประชุมกลุ่มย่อย
4.1.3 ผลการสังเคราะห์ช่องว่างประเด็นปัญหา
คณะผู้วิจัยได้ทำการสังเคราะห์ข้อมูลทางสถิติที่รวบรวมมาในบทที่ 3 ผลการจัดประชุมกลุ่มย่อยที่สรุป
ไว้ในหัวข้อ 4.1.2 และผลการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิเชิงลึก ทำให้สามารถสรุปเป็นช่องว่างปัญหาสำคัญที่จะ
พิจารณาในงานวิจัยชิ้นนี้ (ตารางที่ 4-2) ดังนี้
ตารางที่ 4-2: ปัญหาด้านสิทธิมนุษยชนจากการสังเคราะห์ข้อมูล จำแนกตามสิทธิที่เกี่ยวข้องกับวิจัย
ปัญหาสำคัญ โดยข้อมูลจากสถิติ ปัญหาสำคัญ โดยข้อมูลจาก
ผู้ทรงคุณวุฒิ
สิทธิผู้ถือหุ้น - ไม่ได้จัดทำงบการเงินตามกำหนด - ปัญหาการโกงผู้ถือหุ้นผ่านการ
- การปกปิด/บิดเบือนข้อมูลฐานะทาง ตกแต่งบัญชี แต่งงบการเงิน
การเงินของธุรกิจ - ปัญหาการซื้อขายหุ้นโดยใช้ข้อมูล
- ซื้อขายหุ้นโดยใช้ข้อมูล ภ ายใน ภายใน และการปั่นหุ้น
(Inside Trading) - ปัญหานักลงทุนรายย่อยมีสัดส่วนการ
- ซื้อขายหุ้นในลักษณะอำพราง (ปั่น ลงทุนในระดับสูงเมื่อเทียบกับนักลงทุน
หุ้น) กลุ่มกองทุน
- ปัญหาการโกงในลักษณะของแชร์
ลูกโซ่
- ปัญหาความซับซ้อนของการลงทุน
สมัยใหม่
- ปัญหาการขาดความชัดเจนในเรื่อง
ของนิยามของสิทธิผู้ถือหุ้น
- ปัญหากลไกการเยียวยาที่ไม่สมบูรณ์
92