Page 15 - คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน และรายการตรวจสอบของภาคธุรกิจ
P. 15

Human Rights Due Diligence
                                                                                                             2
                                                                                         (HRDD) คืออะไร?




                  ถึงแม้ว่าหน้าตาของกระบวนการ HRDD อาจแตกต่างกันตามบริบทของธุรกิจ สิ่งสำาคัญซึ่งทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
    ควรบูรณาการสิ่งที่ค้นพบจากการประเมินผลกระทบเข้ากับการดำาเนินธุรกิจ (หลักการข้อ 19) – เพื่อป้องกัน
 หรือลดผลกระทบทางลบด้านสิทธิมนุษยชน การบูรณาการที่มีประสิทธิผลควรเริ่มจากการมอบหมายผู้รับผิดชอบ   ควรตระหนักคือ การสร้างการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้านที่  “มีความหมาย” คือมีประสิทธิผลนั้น
 ที่เหมาะสม และบูรณาการข้อค้นพบเข้ากับกระบวนการตัดสินใจ งบประมาณ และกลไกกำากับดูแลภายใน แต่มาตรการ   ไม่ใช่งานที่ทำาแล้วเสร็จสิ้นในครั้งเดียว แต่เป็นกระบวนการต่อเนื่องในการสร้างความรับผิดชอบของบริษัทและการมี

 ที่เหมาะสมจะแตกต่างออกไปตามแต่ละบริษัท ขึ้นอยู่กับระดับของการเข้าไปมีส่วนร่วมกับการสร้างผลกระทบ (เช่น    ส่วนร่วมจากทุกฝ่ายในบริษัท การเคารพสิทธิมนุษยชนตามหลักการชี้แนะ UNGP มีหลักการสำาคัญ 5 องค์ประกอบ ดังนี้
 เกิดจากกิจกรรมทางตรงของบริษัทเอง หรือเกิดในระดับผู้จำาหน่ายวัตถุดิบให้กับคู่ค้า) และอำานาจต่อรองของธุรกิจในการ
 แก้ปัญหา            การประกาศนโยบายและหลักการของบริษัทที่ว่าด้วยการเคารพสิทธิมนุษยชน (A Statement of Policy
                     Articulating the Company”s Commitment to Respect Human Rights) ซึ่งจะอธิบายต่อสาธารณะ

    ติดตามตรวจสอบประสิทธิผลของการแก้ปัญหา โดยใช้ตัวชี้วัดและข้อมูลสนับสนุนที่เหมาะสม (หลักการ  ว่าธุรกิจจะดำาเนินการอย่างไร ในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในและภายนอก
 ข้อ 20) – เพื่อให้มั่นใจได้ว่าผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนกำาลังถูกขจัดหรือบรรเทาอย่างแท้จริง  รวมถึงการระบุความรับผิดชอบของผู้เกี่ยวข้องในโครงสร้างการทำางานของธุรกิจ



    มีความพร้อมที่จะสื่อสารเรื่องนี้ต่อสาธารณะ (หลักการข้อ 21) – เพื่อแสดงความรับผิดชอบและเพิ่มความ
 โปร่งใส การสื่อสารนั้นควรสะท้อนผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน ผู้มีส่วนได้เสียเข้าถึงได้ ให้ข้อมูลข่าวสารที่เพียงพอ     การประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้นจริงหรือมีแนวโน้มที่อาจเกิดขึ้นจากกิจกรรมของบริษัท (Assessment
 ต่อการประเมินว่าธุรกิจได้ตอบสนองในประเด็นนั้นๆ อย่างเพียงพอแล้วหรือไม่ และต้องไม่ส่งผลให้ผู้มีส่วนได้เสีย   of Actual and Potential Human Rights Impacts of Company Activities and Relationships)

 บุคลากร หรือความลับทางธุรกิจต้องตกอยู่ในอันตราย  หมายถึง การพิจารณาว่าใครที่ได้รับ/มีแนวโน้มได้รับผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนจากการดำาเนินงาน
                     ซึ่งธุรกิจจะต้องทำางานร่วมกันโดยตรงกับผู้ที่ได้รับ/อาจจะได้รับผลกระทบ เช่น พนักงาน ผู้จัดหาวัตถุดิบ

    จัดให้มีหรือร่วมมือในการเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้น (หลักการข้อ 22) – ทุกกรณีที่ธุรกิจก่อให้เกิดหรือ   นักลงทุน ชุมชนท้องถิ่น เป็นต้น
 มีส่วนร่วมในการละเมิดสิทธิมนุษยชน



    กล่าวโดยสรุป กระบวนการ HRDD เป็นองค์ประกอบที่ขาดไม่ได้ของการพิสูจน์ว่า บริษัทกำาลังเคารพสิทธิมนุษยชน     การบูรณาการนโยบายเข้ากับการประเมิน รวมถึงกลไกควบคุมภายในและภายนอก (Incorporating into
 ซึ่งหลักการชี้แนะ UNGP ก็กำาหนดให้การเคารพสิทธิมนุษยชนเป็น “ความรับผิดชอบ” ของบริษัท โดยบริษัทต้อง “รู้และ  Company Procedures and Addressing Impacts) เมื่อมีการระบุปัญหาและจัดลำาดับความสำาคัญแล้ว
 แสดง” (Know and Show) ด้วยแนวทางต่อไปนี้  ธุรกิจต้องหาทางบรรเทาปัญหาผ่านการบูรณาการเข้าถึงการดำาเนินงานของบริษัท วิธีการขึ้นอยู่กับ
                     ประเด็น แต่ส่วนใหญ่มักดำาเนินการผ่านการให้ความรู้และฝึกอบรมด้วยเครื่องมือและกระบวนการต่างๆ
                     ประเด็นสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้องมีตั้งแต่ แรงงานไปจนถึงธรรมาภิบาลของบริษัท หากมีการทำางาน

   การสร้างข้อผูกมัดด้านสิทธิมนุษยชนในนโยบายของบริษัท  ร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจะช่วยทำาให้บริษัทพัฒนานโยบายและกระบวนการต่างๆ ได้ง่ายขึ้น






                     การติดตามและการรายงานผลการดำาเนินงาน (Tracking and Reporting Performance) การรายงาน
   ทำางานเชิงรุกด้วยกระบวนการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน
                     ทำาให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยเฉพาะนักลงทุนเข้าใจว่าทำาไมบริษัทจึงให้ความสำาคัญกับประเด็น

                     สิทธิิมนุษยชน และมีประโยชน์ต่อผู้ใดบ้าง รวมทั้งเผยแพร่รายงานการประเมินผลกระทบด้าน
                     สิทธิมนุษยชน ซึ่งแสดงถึงความโปร่งใสของธุรกิจได้

   แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและชดเชยต่อกรณีการละเมิดสิทธิที่เกิดขึ้น หรือไม่อาจหลีกเลี่ยงได้จากการ
 ดำาเนินงานของบริษัท
                     การแก้ไขให้ถูกต้องและเยียวยา (Remediation and Remedy) เมื่อบริษัทระบุได้ว่าบริษัทก่อให้เกิดหรือ
                     มีส่วนก่อให้เกิดผลกระทบเชิงลบด้านสิทธิมนุษยชน บริษัทก็ควรแก้ไขให้ถูกต้อง หรือมีส่วนร่วมกับ
                     การแก้ไขผ่านกระบวนการที่ชอบธรรม โดยจัดตั้งหรือมีส่วนในการจัดตั้งกลไกรับเรื่องร้องเรียนสำาหรับ
                     ผู้มีส่วนได้เสียที่อาจได้รับผลกระทบเชิงลบจากกิจกรรมของตน เพื่อให้เรื่องร้องเรียนเหล่านั้นได้รับ

                     การจัดการอย่างทันท่วงที และมีการเยียวยาโดยตรง




 14                                                                                                       15
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20