Page 19 - คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน และรายการตรวจสอบของภาคธุรกิจ
P. 19

ประโยชน์ทางธุรกิจของ HRDD      4












 3  สิทธิในทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม




    ผลกระทบจากธุรกิจท่องเที่ยวที่สำาคัญอีกประการหนึ่ง คือ การดำาเนินธุรกิจที่มาจากการใช้ทรัพยากรร่วมกับชุมชน

 ท้องถิ่นซึ่งส่งผลต่อชีวิตความเป็นอยู่เดิม และละเมิดสิทธิชุมชนและการเข้าถึงทรัพยากร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้
 น้ำาสะอาดของนักท่องเที่ยวส่งผลกระทบต่อสิทธิในการใช้น้ำาของชุมชนที่อยู่ใกล้เคียงกับสถานที่ท่องเที่ยว เช่น โรงแรม
 ใช้น้ำามากเกินไปและใช้เครื่องสูบน้ำากำาลังสูงจนทำาให้ชุมชนขาดแคลนน้ำาสะอาด เป็นต้น
    การจัดการของเสียเหมาะสมของโรงแรม เช่น ขยะและน้ำาเสียยังทำาให้ชุมชนได้รับความเดือดร้อนและเจ็บป่วย

 ดังเช่น กรณีที่โรงแรมปิดทางไหลของน้ำาจนก่อให้เกิดน้ำาท่วม น้ำาบาดาลที่ชุมชนใช้อุปโภคบริโภคปนเปื้อนน้ำาขยะที่
 ผิวดินจนมีผู้ป่วยโรคผิวหนัง หรือในกรณีที่มีการปล่อยน้ำาเสียลงสู่แหล่งน้ำาสาธารณะโดยไม่ผ่านการบำาบัดน้ำาเสียของ
 โรงแรมเนื่องจากไม่ต้องการสิ้นเปลืองค่าไฟฟ้าจนส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม  4




                                   ประโยชน์ทางธุรกิจของ HRDD
 4  สิทธิของผู้ใช้บริการ





    การละเมิดสิทธิของผู้ใช้บริการมักเกี่ยวข้องกับการเลือกปฏิบัติอันเนื่องมาจากอคติทางเพศ เชื้อชาติ และศาสนา      กระบวนการ  HRDD  จะช่วยให้บริษัทสามารถ กับแรงกดดันจากภายนอกและเหตุการณ์ไม่คาดฝันเพียง
 เช่น เลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติต่อลูกค้าผิวดำา ปฏิเสธไม่รับลูกค้าบางเชื้อชาติ รวมถึงการปฏิเสธการให้บริการแก่ผู้ติดเชื้อ  ออกแบบและปรับปรุงกลยุทธ์ด้านสิทธิมนุษยชนของบริษัท อย่างเดียว โดยเฉพาะในยุคที่โซเชียลมีเดียและสื่อต่างๆ

 เอชไอวีและเอดส์ นอกจากนี้ ผู้ใช้บริการโรงแรมยังเสี่ยงต่อการถูกละเมิดสิทธิด้านอื่นๆ อีก เช่น การละเมิดสิทธิความ  ในลักษณะ “เชิงรุก” โดยตั้งอยู่บนความเสี่ยงและโอกาส  สามารถเผยแพร่ความกังวลและข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบ
 เป็นส่วนตัวของลูกค้า เช่น การแอบติดตั้งกล้องบันทึกภาพภายในห้องพักของโรงแรม ข้อมูลส่วนตัวรั่วไหลเนื่องจาก   อันเป็นผลลัพธ์จากกระบวนการแทนที่จะคอยตั้งรับจัดการ ที่เกิดจากการดำาเนินธุรกิจได้อย่างรวดเร็ว
 เครือข่ายอินเทอร์เน็ตของโรงแรมถูกโจมตี เป็นต้น

                                                                                       1
                  ตัวอย่างส่วนหนึ่งของบริษัทที่มีจัดทำากระบวนการตรวจสอบสิทธิมนุษยชนรอบด้าน  เมื่อจำาแนกตามประเภท
            อุตสาหกรรมมีดังนี้ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม เช่น บริษัท Nestle (เนสท์เล่) ซึ่งร่วมมือกับสถาบันสิทธิมนุษยชน
            เดนมาร์ก ประเมินผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนในพื้นที่ปฏิบัติการ 7 ประเทศ บริษัทโคคา-โคลา จัดทำารายงานประเมิน
            ผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนห่วงโซ่อุปทานน้ำาตาลในประเทศโคลัมเบียและกัวเตมาลา   บริษัท Arla Foods ผู้ผลิตอาหาร
                                                                                  22
            ผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนห่วงโซ่อุปทานน�้าตาลในประเทศโคลอมเบียและกัวเตมาลา  บริษัท Arla Foods ผู้ผลิตอาหาร
            จากนมในประเทศเดนมาร์ก ประเมินผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนในประเทศไนจีเรียและเซเนกัล อุตสาหกรรมเสื้อผ้า
            และอุปกรณ์กีฬา เช่น Adidas อุตสาหกรรมท่องเที่ยว เช่น บริษัท Kuoni ซึ่งดำาเนินธุรกิจการท่องเที่ยวดำาเนินการในพื้นที่
            ปฏิบัติการ 2 แห่ง อุตสาหกรรมเหมืองแร่ เช่น AngloAmerican อุตสาหกรรมสิ่งทอ เช่น GAP, H&M อุตสาหกรรมไอที
            เช่น Microsoft ผู้ผลิตสินค้าอุปโภคและบริโภค เช่น Unilever ภาคการเงิน เช่น ธนาคาร Barclays, BBVA, Credit Suisse,
            ING Bank, RBS Group, UBS, UniCredit ภาคธุรกิจคมนาคม เช่น Nokia Siemens Networks บริษัทพลังงาน Statoil

            ซึ่งดำาเนินธุรกิจพลังงานใน 30 ประเทศ



            1  ค้นคว้าข้อมูลและความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับบริษัทที่ดำาเนินการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน รวมทั้งฐานข้อมูลเปรียบเทียบ
            การปฏิบัติด้านสิทธิมนุษยชนของบริษัทต่างๆ ได้ที่ https://business-humanrights.org/company-action-platform
                             งโคคา-โคลา
            2  อ่านรายละเอียดกรณีของโคคาโคล่าเพิ่มเติมได้ที่ https://business-humanrights.org/en/coca-cola-publishes-human-rights-due-diligence-
            reports-on-sugar-supply-chain-in-colombia-guatemala

 18                                                                                                       19
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24