Page 13 - คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน และรายการตรวจสอบของภาคธุรกิจ
P. 13
Human Rights Due Diligence
2
(HRDD) คืออะไร?
• การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (Protect) คือ รัฐมีหน้าที่ในการคุ้มครอง 2
ไม่ให้มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนจากองค์กรของรัฐหรือบุคคลที่สาม
ซึ่งหมายรวมถึงองค์กรภาคธุรกิจต่างๆ ด้วย หน้าที่ในการคุ้มครองของรัฐ
มี 4 ประการ ได้แก่ 1) การบังคับใช้กฎหมาย 2) การประกันว่ากฎหมาย
ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจจะต้องไม่เป็นอุปสรรคและต้องส่งเสริมการเคารพ Human Rights Due Diligence
สิทธิมนุษยชน 3) การจัดให้มีแนวปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ และ 4) การสนับสนุน
ให้องค์กรธุรกิจกำาหนดวิธีการรับมือกับผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน (HRDD) คืออะไร?
• การเคารพสิทธิมนุษยชน (Respect) องค์กรและบุคคล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
องค์กรภาคธุรกิจ มีหน้าที่ในการเคารพสิทธิมนุษยชน โดยการหลีกเลี่ยง ในเมื่อธุรกิจเกี่ยวข้องกับผู้มีส่วนได้เสียหลายฝ่าย ไว้ในหลักการข้อที่ 17-22 ซึ่งได้กำาหนดกรอบเพื่อให้
ที่จะละเมิด และดูแลผลกระทบกรณีละเมิดสิทธิมนุษยชนที่องค์กรเข้าไป ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) และห่วงโซ่คุณค่า (Value ธุรกิจสามารถติดตามประเด็นสิทธิมนุษยชนอย่างจริงจัง
เกี่ยวข้อง ทั้งนี้จะต้องมีการผูกพันตั้งแต่ระดับนโยบาย (Policy Commitment) Chain) ของธุรกิจก็อาจยาวเหยียดและซับซ้อน คำาถาม โดยมุ่งหวังว่าองค์กรธุรกิจจะดำาเนินธุรกิจอย่างรับผิดชอบ
ขององค์กร และการตรวจสอบสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (Human Rights ต่อไปก็คือ กิจการของคุณจะรู้ได้อย่างไรว่าเคารพ ยึดหลักสิทธิมนุษยชนในการป้องกัน ลดความสูญเสีย
Due Diligence) รวมถึงมีการประเมินผลกระทบ (Human Rights Impact สิทธิมนุษยชนอย่างเพียงพอแล้ว? มีการประเมินผลกระทบต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชน
Assessment) ในทุกขั้นตอนของการดำาเนินงาน รวมถึงมีการประเมิน “กระบวนการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่าง ที่เกิดขึ้นจริงและอาจเกิดขึ้นได้ และมีการติดตาม
ความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชน มีการจัดทำาตัวชี้วัด (Indicators) และการ รอบด้าน” (Human Rights Due Diligence ย่อว่า HRDD) ผลกระทบนั้นอย่างใกล้ชิด รวมทั้งมีการสื่อสารต่อสาธารณะ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ การจัดทำารายงาน การเปิดเผยข้อมูล ความโปร่งใส คือคำาตอบ เพื่อให้แน่ใจได้ว่าผู้ได้รับผลกระทบจะได้รับการดูแล
และการสื่อสารต่อสาธารณะ หลักการชี้แนะ UNGP ระบุถึงกระบวนการ HRDD และเยียวยาอย่างใส่ใจ
• การเยียวยา (Remedy) เมื่อมีการละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้น รัฐจะต้อง
จัดให้มีการเยียวยาที่เหมาะสม รวมทั้งยังเรียกร้องให้องค์กรภาคธุรกิจควร
จัดให้มีช่องทางในการร้องเรียน และเยียวยาเมื่อมีการละเมิดสิทธิมนุษยชน
เกิดขึ้นด้วยไม่ว่าโดยกิจการนั้นเอง หรือการรวมกลุ่มองค์กรภาคธุรกิจ เนื้อหาในหลักการได้ระบุแนวทางปฏิบัติส�าหรับธุรกิจไว้ดังต่อไปนี้
ที่เกี่ยวข้องซึ่งได้รวมกันเป็นสมาคมธุรกิจ
ดำาเนินธุรกิจอย่างรับผิดชอบโดยยึดหลักสิทธิมนุษยชนในการป้องกันและลดความสูญเสีย (หลักการข้อ 17)
– ธุรกิจควรประเมินผลกระทบจากการละเมิดสิทธิมนุษยชนทั้งที่เกิดขึ้นแล้ว และอาจเกิดขึ้นได้ รวมถึงต้องมีการติดตาม
ผลกระทบนั้นอย่างใกล้ชิด และสื่อสารต่อสาธารณะให้มั่นใจได้ว่า ผู้ที่ได้รับผลกระทบจะได้รับการเยียวยา ความรับผิดชอบ
หลักการชี้แนะ UNGP คาดหวังว่า ทุกกิจการจะต้องพยายามทำาความเข้าใจอย่างถ่องแท้ว่า การประกอบธุรกิจ ข้อนี้ครอบคลุมผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนทั้งที่ธุรกิจก่อเองหรือมีส่วนก่อผ่านความสัมพันธ์ทางธุรกิจ (กับคู่ค้า
ตลอดจนกิจกรรมต่างๆ ในห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ที่กิจการมีส่วนเกี่ยวข้องนั้นส่งผลกระทบ หรือมีความเสี่ยง ผู้รับเหมา ผู้รับเหมาช่วง ฯลฯ)
ที่จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ อย่างไรบ้าง โดยเฉพาะชุมชนท้องถิ่นและกลุ่มเปราะบาง อย่างเช่น
สตรี ชนพื้นเมือง และแรงงานข้ามชาติ และหลังจากที่เห็นภาพผลกระทบที่เกิดขึ้นหรือสุ่มเสี่ยงที่จะเกิดอย่างชัดเจนแล้ว ระบุและประเมินผลกระทบทางลบด้านสิทธิมนุษยชนที่ธุรกิจอาจเข้าไปเกี่ยวข้อง ทั้งที่เกิดขึ้นจริงหรือ
กิจการนั้นๆ ก็จะต้องลงมือจัดการกับผลกระทบและความเสี่ยงเหล่านั้นอย่างต่อเนื่อง น่าจะเกิดขึ้น (หลักการข้อ 18) – โดยใช้กระบวนการประเมินความเสี่ยงโดยผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิมนุษยชนภายใน
หรือภายนอกองค์กรที่เป็นอิสระ และจัดให้มีการปรึกษาหารืออย่างจริงจังกับกลุ่มที่อาจจะได้รับผลกระทบและผู้มีส่วน
ได้เสีย ตามความเหมาะสมกับขนาดของธุรกิจและสภาพแวดล้อมในการดำาเนินธุรกิจ
12 13