Page 11 - คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน และรายการตรวจสอบของภาคธุรกิจ
P. 11

เกริ่นน�ำ  1








    รัฐมีหน้าที่รับผิดชอบในเบื้องแรกในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้นภายในเขตอำานาจรัฐ รัฐมี     ไม่ง่ายนักที่จะมองเห็นว่าธุรกิจมีหน้าที่ด้านสิทธิมนุษยชนอย่างไรบ้าง  หลายคนมองว่าในเมื่อภาครัฐมีหน้าที่

 พันธกรณีตามสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศใน 3 ระดับ ดังนี้  ในเรื่องนี้ตามพันธสัญญาต่อสากล รัฐก็เพียงแต่ต้องออกกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องมา ให้ภาคธุรกิจทำาตาม และหากบริษัท
            ทำาตามกฎหมายทุกกระเบียดนิ้วเท่านั้นก็เพียงพอแล้วต่อการพิสูจน์ว่า บริษัทกำาลัง “รับผิดชอบ” ด้านสิทธิมนุษยชน


   หน้าที่ในการเคารพ (Obligation to Respect) หมายถึง การที่รัฐต้องไม่เข้าไปแทรกแซงการใช้สิทธิ     แต่ในความเป็นจริง ที่ผ่านมากฎหมายไทยมีข้อบกพร่องหลายประการในแง่ของการอนุวัตรตามพันธสัญญา

 ของประชาชน และไม่ทำาการใดๆ (กระทำาหรือละเว้นการกระทำา) ที่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนเสียเอง  ระหว่างประเทศ ยังไม่นับปัญหาในการบังคับใช้อีกมากมาย ฉะนั้นมุมมองของผู้ประกอบการที่ว่า ลำาพังการปฏิบัติ
            ตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ระเบียบต่างๆ ในไทยก็เพียงพอแล้วต่อการแสดงความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชน
            จึงไม่ถูกต้องนัก แล้วบริษัทควรทำาอย่างไร?

   หน้าที่ในการคุ้มครอง (Obligation to Protect) หมายถึง รัฐมีหน้าที่ที่จะต้องคุ้มครองบุคคลหรือ

 กลุ่มบุคคล มิให้ถูกละเมิดสิทธิจากบุคคลอื่นหรือกลุ่มอื่นใด โดยรัฐต้องมีมาตรการดูแลไม่ให้เกิดการ
 ละเมิดสิทธิ แต่หากเกิดการละเมิดรัฐต้องเข้ามาดูแลให้การคุ้มครอง  การ “แสดงความเคารพ” (Respect)

                                      ด้านสิทธิมนุษยชนของธุรกิจ



   หน้าที่ในการทำาให้สิทธิเกิดผลในทางปฏิบัติในการจัดทำา และอำานวยการให้เกิดขึ้นจริง (Obligation
                                                                                                   ปรากฏอย่าง
 to Fulfill) หมายถึง การที่รัฐต้องดำาเนินการเชิงรุก (Positive Steps) ในการรับรองหรือประกันสิทธิ      ในระดับสากล ความคาดหวังต่อการแสดงความรับผิดชอบด้านสิทธิมนุษยชนของผู้ประกอบการนั้น ปรากฎอย่าง
 ของประชาชน เช่น การสร้างกรอบ ทางกฎหมายและนโยบาย รวมถึงการมีมาตรการต่างๆ ที่จะช่วยให้  ชัดเจนเป็นครั้งแรกใน “หลักการชี้แนะว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ” (UN Guiding Principles on

 ประชาชนได้รับรู้ถึงสิทธิดังกล่าว การช่วยให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและได้ใช้สิทธิและเสรีภาพที่ได้รับ  Business and Human Rights – ในคู่มือฉบับนี้จะย่อว่า “หลักการชี้แนะ UNGP”)  ซึ่งเผยแพร่ตั้งแต่ พ.ศ. 2554 เป็นเอกสาร
 การรับรองในกฎหมายภายใน และตามพันธกรณีระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนของไทย  ที่จัดทำาและเผยแพร่โดย สำานักงานข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (OHCHR) โดยการสนับสนุนของ
            เลขาธิการสหประชาชาติ มีศาสตราจารย์จอห์น รักกี้ (John Ruggie) จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ในฐานะผู้แทนพิเศษ
            ของเลขาธิการสหประชาชาติเป็นผู้จัดทำา หลังจากที่คณะทำางานได้ไปเยี่ยมสถานประกอบการและผู้เกี่ยวข้องในท้องถิ่น
            มากกว่า 20 ประเทศ และมีการหารืออย่างกว้างขวางร่วมกับรัฐบาล องค์กรธุรกิจ สมาคม องค์กร ภาคประชาสังคม
    ผู้ประกอบการจำานวนมากยังไม่คิดว่าการดำาเนินธุรกิจเกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน แต่ในความเป็นจริง สิทธิมนุษยชน
 เกี่ยวข้องกับทุกกระบวนการของการทำาธุรกิจ ตั้งแต่วิธีปฏิบัติต่อพนักงาน สภาพการทำางาน วิธีปฏิบัติต่อลูกค้า วิธีปฏิบัติ  องค์กรของกลุ่มแรงงาน สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และผู้ลงทุน

 ต่อแรงงานหรือผู้จัดหาวัตถุดิบในห่วงโซ่อุปทาน  วิธีปฏิบัติต่อชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่ประกอบการ  และอื่นๆ
 อีกมากมาย หลายประเด็นเกี่ยวพันหลายมิติ เช่น “น้ำา” ที่บริษัทใช้ไม่เพียงแต่เป็นประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม (คุณภาพน้ำา)      หลักการชี้แนะ UNGP เป็นผลจากแรงกดดันต่างๆ ต่อภาคเอกชนที่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนมากมาย ซึ่งเริ่มต้น
 เท่านั้น หากแต่ยังเป็นประเด็นสิทธิมนุษยชน (สิทธิของชุมชนในการเข้าถึงแหล่งน้ำา) ไปพร้อมกันด้วย  จากบริษัทข้ามชาติต่างๆ ที่การละเมิดสิทธิมนุษยชนหลายประเภทและหลายระดับ เช่น สิทธิพลเมือง สิทธิทางการเมือง
            เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม แรงงาน เป็นต้น ขณะที่กลไกนานาชาติที่มีอยู่ล้มเหลวและไม่เพียงพอในการจัดการ

            กับการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้น ซึ่งได้รับการวิพากษ์วิจารณ์จากภาคประชาสังคมเป็นอย่างมาก รักกี้เห็นว่าปัญหา
    ผู้ประกอบการบางรายเข้าใจผิดว่า บริษัทไม่มีความรับผิดชอบใดๆ ในขอบเขตที่พ้นไปจากตัวบริษัทเอง ยกตัวอย่าง
 เช่น ในประเด็นความรับผิดชอบต่อแรงงาน บางคนคิดว่าบริษัทมีหน้าที่ดูแลเฉพาะพนักงานและแรงงานที่ทำางานให้กับ  ของการรายงานต่างๆ ที่มีอยู่คือ การวัดเชิงปริมาณไม่ตรงกับคุณภาพ ปัญหานี้รวมถึงข้อเท็จจริงที่ว่าบริษัทไม่จำาเป็น
 บริษัทโดยตรง ไม่จำาเป็นต้องรับผิดชอบต่อลูกจ้างรับเหมาค่าแรงไม่ได้มีสัญญาจ้างโดยตรงกับบริษัท แต่ในความเป็นจริง   ต้องรับรู้ถึงสิทธิที่ตนเองส่งผลกระทบมากที่สุด การตีความเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนยังอาจจะกว้างเกินไปจนไร้ความหมาย
 มาตรา 11/1 ของพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 บัญญัติว่า  และเป็นมาตรการที่ไร้ซึ่งประสิทธิภาพ

    “ในกรณีที่ผู้ประกอบกิจการมอบหมายให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดเป็นผู้จัดหาคนมาทำางานอันมิใช่การประกอบธุรกิจ
 จัดหางาน โดยการทำางานนั้นเป็นส่วนหนึ่งส่วนใดในกระบวนการผลิตหรือธุรกิจในความรับผิดชอบของผู้ประกอบกิจการ      หลักการชี้แนะ UNGP เป็นกรอบสำาหรับรัฐในการควบคุมให้ภาคเอกชนเคารพสิทธิมนุษยชน ด้วยการจัดทำา
 และโดยบุคคลนั้นจะเป็นผู้ควบคุมดูแลการทำางานหรือรับผิดชอบในการจ่ายค่าจ้างให้แก่คนที่มาทำางานนั้นหรือไม่ก็ตาม   “พิมพ์เขียว” สำาหรับบริษัทต่างๆ เพื่อเป็นมาตรฐานสากลในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และเป็นการนำาเสนอ
 ให้ถือว่าผู้ประกอบกิจการเป็นนายจ้างของคนที่มาทำางานดังกล่าว   แนวทางในการจัดการความเสี่ยงในการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ไม่พึงประสงค์ โดยได้รับการสนับสนุนจากภาคธุรกิจ และ

    ให้ผู้ประกอบกิจการดำาเนินการให้ลูกจ้างรับเหมาค่าแรงที่ทำางานในลักษณะเดียวกันกับลูกจ้างตามสัญญาจ้าง  ประชาสังคมเช่นเดียวกับจากรัฐต่างๆ โดยวางอยู่บนหลัก 3 ประการ ได้แก่
 โดยตรง ได้รับสิทธิประโยชน์และสวัสดิการที่เป็นธรรมโดยไม่เลือกปฏิบัติ”




 10                                                                                                       11
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16