Page 63 - ข้อเสนอแนะการเข้าถึงความยุติธรรมของผู้หญิงมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้
P. 63

ผศ. ดร. สุชาติ เศรษฐมาลินี      ๒๙

              สถำบันศำสนำ วัฒนธรรม และสันติภำพ มหำวิทยำลัยพำยัพ


                                                         “จริงๆ ศาสนาอิสลามยอมรับกฎชุมชน ให้ความส�าคัญกับ

                                               วัฒนธรรม วิถีปฏิบัติในท้องถิ่น แต่ก็ต้องไม่ขัดกับหลักการใหญ่ของศาสนา
                                               ต้องดูว่าละเมิดสิทธิมนุษยชน ละเมิดผู้หญิงหรือไม่ ส�าหรับข้อเสนอแนะที่
                                               เป็นรูปธรรมส�าหรับสร้างความยุติธรรม ความเสมอภาคให้กับผู้หญิงผมคิดว่า

                                                         •  องค์กรใดในพื้นที่ที่ผู้หญิงถูกกระท�า ถูกท�าร้ายแล้วอ้างหลัก
                                               ทางศาสนานั้น สามารถท�าหนังสือโดยตรงต่อจุฬาราชมนตรี ซึ่งมีผู้ทรง

                                               คุณวุฒิ ที่จะวินิจฉัยชี้ขาดประเด็นเกี่ยวกับศาสนาซึ่งจะให้ความยุติธรรม

                                                         •  กระทรวงยุติธรรมต้องมาให้การดูแลเสริมการท�างานของ
                                               องค์กรศาสนาเพื่อให้การคุ้มครองผู้หญิงด้วย

                     •   คณะกรรมการอิสลามประจ�าจังหวัดต้องให้ความส�าคัญ ให้ผู้หญิงมีบทบาท สร้างพื้นที่ให้ผู้หญิง อย่างน้อย
              จะต้องตั้งอนุกรรมการฝ่ายกิจการสตรีขึ้นมาให้ผู้หญิงได้มีพื้นที่ในการช่วยกันพัฒนาสังคม ให้เราได้มีการปฏิบัติต่อกัน

              และกันบนพื้นฐานของความเสมอภาค ความเท่าเทียมความยุติธรรม ซึ่งคือแก่นของศาสนาอิสลาม

                     •   ต้องส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความพร้อม ในการให้ความคุ้มครองผู้หญิงมุสลิมจังหวัด
              ชายแดนภาคใต้ที่ถูกกระท�าด้วยความรุนแรงทางเพศและความรุนแรงในครอบครัว”



              ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.อมรา พงศาพิชญ์              ๓๐

              ประธำนกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ


                                                         •  กลไกยุติธรรมชุมชนต้องมีมิติเรื่องผู้หญิงด้วย ต้องมีผู้หญิง
                                               ในสภาชูรอ (สภาการปรึกษาหารือ) เอาประเด็นผู้หญิงไปถกกันในสภานี้

                                                         •  การประสานงานอย่างเป็นระบบในจังหวัดชายแดนใต้ยังไม่มี
                                               อาจต้องเริ่มที่ ศอ.บต. โดยให้มีโต๊ะผู้หญิงเพื่อช่วยประสานงาน รับค�า

                                               ร้องเรียนของผู้หญิงที่มีอยู่มากและมีกลุ่มหรือองค์กรผู้หญิงให้ความช่วยเหลือ
                                               ผู้หญิงที่ได้รับความเดือดร้อน”


















              ๒๙  น�าเสนอในวีดิทัศน์ เรื่อง “เรื่องเล่าใต้ฮิญาบ” เสนอในการสัมมนาระดับประเทศ เรื่อง แนวปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงความยุติธรรมของผู้หญิงมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้
                 เมื่อวันที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๘๘ ที่ โรงแรมสุโกศล กรุงเทพมหานคร
              ๓๐  อ้างแล้ว


                52     ข้อเสนอแนะ การเข้าถึงความยุติธรรมของผู้หญิงมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68