Page 47 - ข้อเสนอแนะการเข้าถึงความยุติธรรมของผู้หญิงมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้
P. 47

ส�าหรับข้อเสนอแนะที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากสามจังหวัดชายแดนใต้ได้ร่วมกันจัดท�านั้น ขอเสนอให้เพิ่ม
              แนวปฏิบัติส�าหรับหน่วยงานภาครัฐที่จะท�าให้ การไม่ลงโทษผู้กระท�าผิดหมดไป เพราะการไม่ลงโทษผู้กระท�าผิด

              ท�าให้ผู้หญิงไม่กล้ารายงานเรื่องที่เกิดขึ้นเพราะเกรงจะถูกตีตราในขณะที่ผู้ท�าผิดกลับลอยนวล ดังนั้น จึงควรสร้าง
              ความรู้ความเข้าใจและสร้างแนวทางให้การไม่ลงโทษยุติลงอย่างแท้จริง เพื่อให้ผู้หญิงมีความปลอดภัยในชีวิตและ
              ทรัพย์สินอย่างแท้จริง เราจะพบว่าเมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นผู้หญิงมักจะไปหาผู้น�าชุมชนหรือผู้น�าศาสนาเพราะคิดว่า

              เป็นพื้นที่ที่จะได้รับความเห็นใจ สิ่งที่หลายประเทศได้มีการด�าเนินการและน่าจะประสบความส�าเร็จเป็นอย่างดี คือ
              การก�าหนดกระบวนการให้ผู้รับผิดชอบทุกภาคส่วนรู้ว่าจะต้องด�าเนินการอย่างไรเมื่อผู้หญิงที่ได้รับความเสียหาย

              ไปแจ้งเหตุ
                     แนวปฏิบัติที่เสนอมาอีกประเด็นหนึ่งที่ดีมาก คือ การท�าให้ผู้น�าชุมชนและเจ้าหน้าที่ภาครัฐทุกภาคส่วน
              ด�าเนินการตอบสนองต่อสถานการณ์จริงที่ผู้หญิงมุสลิมเผชิญ โดยรับรู้ เข้าใจ และละเอียดอ่อนต่อความรู้สึก

              ความหวาดกลัว ความกังวล ความเป็นส่วนตัวของผู้ที่เข้ามาร้องเรียน การตอบสนองนี้จะแสดงให้เห็นว่าผู้หญิง
              มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาด้วย”

                     การยุติการไม่ลงโทษผู้กระท�าผิดจะเกิดขึ้นไม่ได้หากไม่มีการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมเสียก่อน นั่นคือ การไม่
              อดทนต่อความรุนแรงทุกรูปแบบต่อผู้หญิงอีกต่อไป ไม่เพียงการเปลี่ยนแปลงที่ความเข้าใจ ขีดความสามารถ หรือ
              วัฒนธรรมการท�างานของภาครัฐเท่านั้น แต่เปลี่ยนแปลงผู้ที่ไม่อยู่ในภาครัฐด้วยทั้งที่เป็นการเปลี่ยนแปลงระดับบุคคล

              และการเปลี่ยนแปลงเชิงสถาบัน
                     ความเสมอภาคระหว่างหญิงชายในหลักอิสลามเป็นสิ่งที่งดงามมาก เพราะเป็นการให้คุณค่าที่เสมอภาคกัน

              ระหว่างหญิงกับชาย เพื่อให้เกิดการเคารพซึ่งกันและกัน สร้างความกลมกลืนในการอยู่ร่วมกัน ซึ่งจะเป็นจุดที่จะยุติ
              ความรุนแรงต่อผู้หญิงได้ การเปลี่ยนวัฒนธรรมเพื่อหยุดยั้งการกระท�าผิดแล้วไม่ถูกลงโทษจะน�ามาซึ่งการสร้างกรอบ
              ความรับผิดชอบร่วมกัน

                     สิ่งที่ส�าคัญอย่างยิ่งยวดคือ การท�างานร่วมกันของภาคี ไม่ว่าจะเป็นภาคีเก่าของภาครัฐ ภาคเอกชน สื่อสาร
              มวลชน กลไกเชิงสถาบัน กลไกทางศาสนา การสร้างภาคีจะเป็นพื้นฐานของการสร้างวัฒนธรรมใหม่ หากภาคีเข้าใจ

              ความเป็นสากลของมวลมนุษยชาติซึ่งเป็นรากฐานส�าคัญ ก็จะน�าไปสู่การเปลี่ยนแปลงได้ โดยต้องมีภราดรภาพ
              ความมุ่งมั่นทางการเมือง ซึ่งรวมถึงการเพิ่มทรัพยากรในการด�าเนินการด้วย ดังที่ได้ระบุไว้ในแนวปฏิบัติที่เสนอมา

































                36     ข้อเสนอแนะ การเข้าถึงความยุติธรรมของผู้หญิงมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52