Page 83 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 83
59
บทที่ 3
กรอบกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความเสมอภาคและการห้ามเลือกปฏิบัติ
ในบทนี้จะได๎ชี้ให๎เห็นหลักกฎหมายที่เกี่ยวกับความเสมอภาคหรือความเทําเทียมกันและการห๎าม
เลือกปฏิบัติตามเพื่อเป็นกรอบในการวิเคราะห์ส าหรับบทที่ 4 ในประเด็นตํางๆตํอไป
ส าหรับหลักกฎหมายที่เกี่ยวข๎องนี้ จะเริ่มจากการชี้ให๎เห็นถึงหลักกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวําง
ประเทศอันปรากฏในตราสารระหวํางประเทศด๎านสิทธิมนุษยชนฉบับตํางๆโดยจะเน๎นเฉพาะหลักที่
เกี่ยวข๎องกับความเทําเทียมกันและการห๎ามเลือกปฏิบัติ จากนั้นจะได๎ชี้ให๎เห็นหลักกฎหมายสิทธิมนุษยชน
ระดับภูมิภาคจากความตกลงตํางๆที่เกี่ยวข๎องในระดับภูมิภาค เมื่อพิจารณาหลักกฎหมายระหวํางประเทศ
แล๎ว จะได๎ชี้ให๎เห็นหลักกฎหมายตํางประเทศและกฎหมายไทยที่เกี่ยวข๎อง จากนั้นจะท าการศึกษาค า
พิพากษาศาลรัฐธรรมนูญและศาลปกครองโดยคัดเลือกมาเฉพาะที่เกี่ยวข๎องกับความเทําเทียมกันและการ
ห๎ามเลือกปฏิบัติ
หลักกฎหมายระหวํางประเทศ กฎหมายตํางประเทศ กฎหมายไทย และแนวค าพิพากษาดังกลําว
มานี้ จะได๎น ามาเป็นกรอบส าหรับการวิเคราะห์ประเด็นตํางๆเกี่ยวกับความเทําเทียมและการห๎ามเลือก
ปฏิบัติในบทที่ 4 ตํอไป
3.1 กฎหมายระหว่างประเทศเกี่ยวกับหลักความเสมอภาคและการห้ามเลือกปฏิบัติ
ในหัวข๎อนี้จะได๎ศึกษาถึงกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวํางประเทศภายใต๎กรอบของสหประชาชาติ
ซึ่งประกอบด๎วยสนธิสัญญาหลัก 9 ฉบับ ซึ่งจะชี้ให๎เห็นเฉพาะในสํวนของหลักเกณฑ์เกี่ยวกับความเทําเทียม
กันและการห๎ามเลือกปฏิบัติ ดังตํอไปนี้
1) กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International
Covenant on Civil and Political Rights - ICCPR)
กติการะหวํางประเทศวําด๎วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ประกอบด๎วยวรรคอารัมภบท และ
บทบัญญัติ 53 ข๎อ ส าหรับหลักความเทําเทียมกันสะท๎อนให๎เห็นตั้งแตํใน วรรคอารัมภบท “พิจารณาวํา
ตามหลักการที่ได๎ประกาศไว๎ในกฎบัตรสหประชาชาตินั้น การยอมรับในศักดิ์ศรีแตํก าเนิดและสิทธิที่เทํา
เทียมกันและไมํอาจเพิกถอนได๎ (Equal and inalienable rights) ของสมาชิกทั้งปวงของมวลมนุษยชาติ
นั้นเป็นรากฐานของเสรีภาพ ความยุติธรรม และ สันติธรรมในโลก” ซึ่งมีหลักเกี่ยวกับความเทําเทียมและ
การห๎ามเลือกปฏิบัติมีดังตํอไปนี้
ข้อ 3