Page 99 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง พันธกรณีด้านสิทธิมนุษยชนของประชาคมอาเซียน
P. 99

จากการรวมตัวทางเศรษฐกิจในอาเซียนซึ่งจ�าเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากสมาชิก เช่น การขับไล่ประชากรออกจาก

          พื้นที่เพื่อรวบรวมที่ดินในการลงทุน หรือผลกระทบในด้านสิ่งแวดล้อมจากการลงทุนซึ่งมีผลกระทบข้ามพรมแดน เป็นต้น



                       ๗.๒.๓ การพัฒนาตราสารสิทธิมนุษยชนส�าหรับอาเซียน
                             ข้อมูลที่แสดงในบทที่ ๕ เกี่ยวกับตราสารสิทธิมนุษยชนในอาเซียนแสดงให้เห็นความท้าทายในการ
          พัฒนาตราสารทางกฎหมายในหลายกรณี  และประเทศไทยสามารถมีส่วนผลักดันการพัฒนาในประเด็นนี้อย่างน้อยใน

          สองด้าน คือ
                             ๑. จากเจตจ�านงทางการเมืองสู่พันธกรณีทางกฎหมาย
                                ในด้านแรก อาเซียนมีตราสารทางการเมืองจ�านวนหนึ่งที่ยังมิได้มีการพัฒนาสู่พันธกรณีทาง

          กฎหมายซึ่งจะท�าให้การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น ประเด็นการคุ้มครองแรงงานข้ามชาติ
          ประเด็นสิ่งแวดล้อม (นอกเหนือจากหมอกควันข้ามพรมแดน) และที่ส�าคัญ คือ การประกาศใช้ปฏิญญาสิทธิมนุษยชนอาเซียน
          (AHRD) ซึ่งเป็นตราสารที่ครอบคลุมสิทธิมนุษยชนอย่างหลากหลาย ท�าให้สามารถพิจารณาหยิบยกประเด็นสิทธิมนุษยชน

          ที่มีผลกระทบต่อภูมิภาคหรือที่ยังมิได้มีการด�าเนินการอย่างจริงจังขึ้นเพื่อผลักดันให้มีการพัฒนาไปสู่ตราสารที่มีผลทาง
          กฎหมายต่อไป ประเทศไทย (ซึ่งรวมถึง กสม.) ควรพิจารณาวางแผนในเรื่องนี้เพื่อรองรับการท�าหน้าที่เป็นประธานอาเซียน

          ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒


                             ๒. จากหลักกฎหมายสู่ข้อเท็จจริงของประชาชน

                                สิ่งที่ส�าคัญที่สุดส�าหรับประชาชนของอาเซียนทั้งสิบประเทศ  คือ  การได้รับความคุ้มครองสิทธิ
          มนุษยชนที่มีผลจริงในทางปฏิบัติ และโดยที่ประชาคมอาเซียนได้ตั้งค�าขวัญหลักส�าหรับระยะเวลาสิบปีตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๘

          ถึง พ.ศ. ๒๕๖๘ ว่าจะเป็นภูมิภาคที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลางและให้ความส�าคัญกับประชาชน (People-Oriented,
          People-Centred) จึงจ�าเป็นที่ทุกภาคส่วนของอาเซียนและประเทศสมาชิกจะตั้งเป้าหมายและนโยบายในการน�า
          พันธกรณีต่าง ๆ ที่ได้ให้ไว้ ทั้งที่เป็นทางการเมืองและโดยเฉพาะที่เป็นพันธกรณีทางกฎหมาย มาปฏิบัติให้มีผลอย่างเป็น

          รูปธรรมต่อประชาชนต่อไป


                  ๗.๓ ข้อเสนอการวิจัย/ค้นคว้าเพิ่มเติมต่อส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ



                       ข้อสรุปที่ปรากฏจากการวิจัยในครั้งนี้ คือ การพัฒนาตราสารสิทธิมนุษยชนในอาเซียนยังอยู่ในระยะเริ่มต้น
          โดยแรงขับเคลื่อนในการพัฒนาตราสารสิทธิมนุษยชนที่ส�าคัญ คือ กลไกสิทธิมนุษยชนอาเซียนโดยเฉพาะคณะกรรมาธิการ

          ระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (AICHR) การวิจัยและค้นคว้าเพื่อให้เกิดข้อมูลหรือฐานข้อมูลเชิงประจักษ์
          ที่จะสามารถใช้เป็นแนวทางในการวางแนวนโยบายเพื่อน�าเสนอภาคส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป ถือเป็นประเด็นส�าคัญที่ต้อง

          ด�าเนินการอย่างต่อเนื่อง  ในส่วนท้ายของรายงานฉบับนี้จึงน�าเสนอประเด็นที่  กสม.  สามารถใช้ประกอบการพิจารณา
          เพื่อก�าหนดเป็นหัวข้อในการวิจัยและค้นคว้าต่อไป เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนการพัฒนาทั้งในระดับอาเซียนและในระดับ
          ประเทศไทย ซึ่ง กสม. ถือเป็นภาคส่วนยุทธศาสตร์ที่ส�าคัญ ทั้งนี้ ประเด็นที่น�าเสนอนี้ เป็นเพียงตัวอย่างเบื้องต้นเท่านั้น








        98
               ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104