Page 35 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 35

มาตรฐานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน   รูปแบบ   รายละเอียด   หัวข้อหลักปฏิบัติ / ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง

 1.  ข้อตกลงโลกแห่งสหประชาชาติ   หลักการ  ข้อตกลงโดยสมัครใจ ที่บรรษัทสามารถน าไปปรับใช้ใน จ าแนกเป็น 4 ด้าน (10 ข้อ) คือ 1. สิทธิมนุษยชน (สนับสนุนและเคารพการ
 (UNGC)   การด าเนินธุรกิจเพื่อแสดงถึงการมีความรับผิดชอบต่อ คุ้มครองสิทธิมนุษยชนระดับนานาชาติ   ไม่มีส่วนร่วมในการกระท าอันเป็นการ
 สังคมโลก หน่วยงานที่น าเอาหลักการนี้ไปใช้ต้องท า ละเมิด) 2. แรงงาน (ยอมรับสิทธิการเจรจาต่อรอง  ขจัดการใช้แรงงานบังคับ
 รายงานประจ าปีเพื่อแสดงผลการด าเนินงาน เปิดเผยต่อ ยกเลิกการใช้แรงงานเด็ก  ขจัดการเลือกปฏิบัติ) 3. สิ่งแวดล้อม (สนับสนุน

 ผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ   มาตรการป้องกันความเสียหาย  ส่งเสริมแนวทางที่ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อ
               สิ่งแวดล้อม  ส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยี) 4.การต่อต้านคอร์รัปชั่น (ขจัดการ

               ทุจริตทุกรูปแบบ)
 2.  หลักการก ากับกิจการที่ดี (OECD   หลักการ  เป็นแนวทางในการก ากับดูแลบริษัทจดทะเบียนในตลาด ประกอบด้วย 6 หลักการ คือ 1. การสร้างความมั่นใจในการมีกรอบโครงสร้าง
 Principles of Corporate   หลักทรัพย์ มุ่งเน้นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างการ การก ากับดูแลกิจการที่มีประสิทธิผล 2. สิทธิของผู้ถือหุ้นและหน้าที่ของผู้เป็น
 Governance)   จัดการของบริษัท คณะกรรมการ ผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้ เจ้าของ 3. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียม 4. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสียใน

 เสียต่างๆ  ที่จะช่วยพัฒนาแนวทางการด าเนินธุรกิจและ การก ากับดูแลกิจการ 5. การเปิดเผยข้อมูล 6. ความรับผิดชอบของ
 ลดปัญหาต่างๆ ได้   คณะกรรมการ

 3.  หลักการชี้แนะว่าด้วยธุรกิจและสิทธิ  หลักการ  เป็นกรอบส าหรับภาครัฐในการก ากับดูแลภาคเอกชนให้ ประกอบด้วยหลัก 3 ประการ คือ 1. การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนโดยภาครัฐ 2.
 มนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (UNGP)   เกิดการเคารพสิทธิมนุษยชน หลักปฏิบัติจ าแนก การเคารพสิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคธุรกิจ 3. การเยียวยาที่
 ออกเป็น 3 ส่วน คือ ส าหรับภาครัฐ เอกชนและกลไก เหมาะสมของภาครัฐเมื่อมีการละเมิดสิทธิมนุษยชน

 การเยียวยา ที่ภาคธุรกิจสามารถน าหลักการไปปฏิบัติได้
 4.  แนวปฏิบัติส าหรับบรรษัทข้ามชาติ   หลักการ  เป็นแนวปฏิบัติในการประกอบธุรกิจที่รับผิดชอบต่อ แนวปฏิบัติจ าแนกออกเป็น 5 ด้าน คือ นโยบายทั่วไป   สิทธิมนุษยชน
 OECD (OECD Guidelines for   สังคมที่ภาครัฐเห็นชอบร่วมกันในการน ามาเผยแพร่เพื่อ ความสัมพันธ์กับลูกจ้างและอุตสาหกรรม สิ่งแวดล้อม และผลประโยชน์ของ

 Multinational Enterprises)   สร้างความมั่นใจในการด าเนินธุรกิจของผู้ประกอบการ ผู้บริโภค (ตัวอย่างของสาระส าคัญ เช่น การเปิดเผยข้อมูลสิทธิมนุษยชน การจ้าง
 และเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน การบังคับใช้จะจ ากัดอยู่ งาน การต่อต้านการติดสินบน สิทธิผู้บริโภค การแข่งขันและภาษี)
 เฉพาะประเทศสมาชิก OECD เท่านั้น

 5.  มาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมที่  มาตรฐาน เป็นหลักเกณฑ์ของบรรษัทเงินทุนระหว่างประเทศ เป็น หลักปฏิบัติมี 8 ประการ คือ 1. การประเมินและจัดการผลกระทบและความเสี่ยง
 ยั่งยืน ในหลักเกณฑ์ของบรรษัทเงินทุน  ที่ใช้กับ  ส่วนหนึ่งของหลัก EPs ที่เป็นกรอบการด าเนินการปล่อย ทางสังคมและสิ่งแวดล้อม 2.  แรงงานและสภาพการท างาน



 2-12
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40