Page 291 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 291
5.4.5 แนวทางกิจกรรม/ตัวชี้วัดความส าเร็จของแผนกลยุทธ์
หลักการในการก าหนดตัวขี้วัด
ตัวชี้วัดเป็นดัชนีแทนที่สะท้อนถึงความส าเร็จของเป้าหมาย การก าหนดตัวชี้วัดจึงเป็นเครื่องมือที่ถูกใช้
เพื่อประเมินสถานะของงานของแต่ละกลยุทธ์ว่ามีความก้าวหน้าไปในทิศทางที่เหมาะสมมากน้อยเพียงใด โดย
ในทางทฤษฎีแล้ว การประเมินสถานะความก้าวหน้าของกลยุทธ์สามารถก าหนดได้ใน 6 รูปแบบ ตาม
ระยะเวลาการด าเนินการของแผนกลยุทธ์ ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้
1. การประเมินความก้าวหน้าโดยพิจารณารูปแบบการก าหนดกิจกรรม หมายถึง การวิเคราะห์ความ
เหมาะสมในการคัดเลือกกิจกรรมเพื่อตอบโจทย์ของกลยุทธ์ กิจกรรมต่างๆ ที่ถูกเลือกอย่างเหมาะสมจะน าไปสู่
ความส าเร็จในการด าเนินการตามกลยุทธ์ ในขณะที่กิจกรรมที่ไม่มีความเหมาะสมอาจจะท าให้เกิดความสูญ
เปล่า และเสียโอกาสในการด าเนินกลยุทธ์ไป ตัวอย่างเช่น ส าหรับกลยุทธ์การถ่ายทอดให้ความรู้ จะต้องมี
กิจกรรมการสร้างองค์ความรู้ที่เหมาะสมเสียก่อน จึงจะท าให้การถ่ายทอดความรู้ประสบความส าเร็จ การ
ประเมินความก้าวหน้าโดยพิจารณารูปแบบการก าหนดกิจกรรม สามารถพิจารณาได้ทั้งเนื้อหาสาระในการท า
กิจกรรม (เช่น การด าเนินกิจกรรมจะน าไปสู่เป้าหมายของกลยุทธ์หรือไม่) และกลไกการคัดเลือกกิจกรรม (เช่น
คณะกรรมการในการคัดเลือกกิจกรรมมีความหลากหลาย และเข้าใจในกลยุทธ์เพียงพอหรือไม่)
2. การประเมินความก้าวหน้าโดยพิจารณารูปแบบปัจจัยน าเข้า (input) หมายถึง การวิเคราะห์
ความเหมาะสมในปัจจัยน าเข้าที่ใช้เพื่อด าเนินการตามกลยุทธ์ ตัวอย่างของปัจจัยน าเข้า เช่น จ านวนคนที่เข้า
อบรม จ านวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม ขนาดของงบประมาณที่ใช้ในกิจกรรม เป็นต้น การก าหนดปัจจัยน าเข้าท า
ให้ผู้ประเมินทราบถึงทรัพยากรที่ใช้ในการด าเนินกลยุทธ์ว่ามีมากน้อยเพียงใด และมีความเหมาะสมกับสภาพ
ปัญหามากน้อยเพียงใด
3. การประเมินความก้าวหน้าโดยพิจารณากระบวนการท างาน (process) หมายถึง การวิเคราะห์ถึง
ความเหมาะสมในการใช้ทรัพยากรเพื่อที่จะสร้างผลผลิตของโครงการ โดยผู้ประเมินจะวิเคราะห์ความคุ้มค่า
ความเหมาะสมและประสิทธิภาพของการใช้ปัจจัยน าเข้าเป็นส าคัญ ตัวอย่างของการพิจารณากระบวนการ
ท างาน เช่น จ านวนบุคลากรที่ใช้ในการตรวจสอบและติดตามเรื่องร้องเรียน 1 เรื่อง สัดส่วนงบประมาณที่ใช้ใน
การตรวจสอบและติดตามเรื่องร้องเรียน 1 เรื่อง เป็นต้น
4. การประเมินความก้าวหน้าโดยพิจารณาผลผลิต (output) หมายถึงการพิจารณาผลผลิตที่จับต้อง
ได้อันเนื่องมาจากการท ากิจกรรมต่างๆ ภายใต้กลยุทธ์ เช่น จ านวนรายงานที่สรุปปัญหาและให้ข้อเสนอแนะ
เชิงนโยบาย จ านวนคู่มือ เอกสารที่รวบรวมเอาไว้ในคลังข้อมูล ทั้งนี้ การพิจารณาผลผลิตยังสามารถประเมิน
ในมิติเชิงคุณภาพ โดยก าหนดค่าคะแนนตั้งแต่ต่ าที่สุดถึงสูงที่สุด และให้ผู้ประเมินให้ความเห็น โดยผลคะแนน
จะสะท้อนถึงระดับความส าเร็จของผลผลิตในการตอบโจทย์ตามวัตถุประสงค์ของกลยุทธ์
5. การประเมินความก้าวหน้าโดยพิจารณาผลลัพธ์ (outcome) หมายถึง การพิจารณาผลที่มาจาก
การด าเนินกิจกรรมทั้งหมดจนเสร็จสิ้น และเป็นผลที่เกิดขึ้นกับองค์กร สังคม หรือกลุ่มเป้าหมายของการ
ด าเนินกลยุทธ์ในระยะสั้น เช่น ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน 1-5 ปี เป็นต้น ทั้งนี้ ผลลัพธ์จะมีความแตกต่าง
จากผลผลิต เนื่องจากผลผลิตจะมุ่งเน้นเพียงแต่สิ่งที่ได้จากการด าเนินกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง แต่ผลลัพธ์จะ
เป็นผลที่เกิดขึ้นจากการท างานของทุกกิจกรรมรวมกัน ตัวอย่างเช่น หากก าหนดให้ผู้ประเมินก าลังประเมิน
กลยุทธ์การเป็นคลังข้อมูลให้กับภาควิชาการ ซึ่งน าไปสู่การพัฒนาทั้งฐานข้อมูล องค์ความรู้ และกลไกการ
5-58