Page 286 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 286
ตารางความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ของ กสม. พ.ศ. 2560-2565
กลยุทธ์ของ กสม. ในประเด็นสิทธิมนุษยชนและการ กลยุทธ์ในแผนยุทธศาสตร์ฯ กสม.
ภาคส่วนอื่นๆ
ประกอบธุรกิจ พ.ศ. 2560-2565
กลยุทธ์ที่ 1. การให้ค าปรึกษาในการจัดท าแผน NAP กลยุทธ์ 1.2 และ 3.1
กลยุทธ์ที่ 2. การประมวลข้อสรุปจากเรื่องร้องเรียนออกมาเป็น กลยุทธ์ 1.2/ 2.1/5.3
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
กลยุทธ์ที่ 3. การตรวจสอบประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนเฉพาะเรื่อง - การตรวจสอบประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชน
ของภาครัฐหรือรัฐวิสาหกิจ (เช่น โครงการขนาดใหญ่ แย่งชิงฐาน เฉพาะเรื่อง (กลยุทธ์ 1.2)
ทรัพยากร การท าลายสิ่งแวดล้อม) การตรวจสอบผลการด าเนินงาน - การตรวจสอบผลการด าเนินงานของภาครัฐ
ของภาครัฐ (เช่น ภาครัฐมีกลไกการคุ้มครองและเยียวยาในทาง (กลยุทธ์ 1.1/1.2)
ปฏิบัติเป็นอย่างไร) และกลไกการตรวจสอบของภาครัฐ - กลไกการตรวจสอบของภาครัฐ (กลยุทธ์
1.2/4.2)
กลยุทธ์ที่ 4. การสนับสนุนเชิงเทคนิคและการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับ
ภาครัฐ
หน่วยงานภาครัฐ (เช่น การให้ความรู้ในกระบวนการเยียวยาของศาล กลยุทธ์ 1.1/1.2/3.1
และภาครัฐอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง การผลักดันแก้ไขปัญหาข้ามพรมแดน
และการผลักดันเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาเพิ่มเติม)
กลยุทธ์ที่ 5. การสนับสนุนการเชื่อมโยงแผนต่างๆ ของประเทศให้มี กลยุทธ์ 1.2/2.1/3.1
ประเด็นสิทธิมนุษยชนเด่นชัดมากขึ้น
กลยุทธ์ที่ 6. การให้ข้อเสนอเชิงนโยบาย หรือปรับปรุงกฎหมาย
กฎระเบียบในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้อง
กับภาคธุรกิจ (เช่น การให้มีกฎหมาย Anti SLAPP การให้มีการ กลยุทธ์ 1.2/2.1/3.1/4.2
คุ้มครองผู้พิทักษ์สิทธิมนุษยชนหรือผู้ให้ข้อมูล (whistle blower)
และการสนับสนุนให้ท า RIA)
กลยุทธ์ที่ 7. การสนับสนุนการสร้างความตระหนักรู้ด้านสิทธิ
มนุษยชนกับการประกอบธุรกิจ (CSR เป็นจุดเริ่มที่ดีแต่ยังไม่
เพียงพอ) รวมไปถึงความส าคัญของการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน กลยุทธ์ 2.3/3.1/4.1
การผลิตที่เคารพสิทธิมนุษยชน
กลยุทธ์ที่ 8. การผลักดันการเผยแพร่คู่มือ HRDD ในภาคปฏิบัติ กลยุทธ์ 2.3/3.1/4.1
กลยุทธ์ที่ 9. การให้ค าแนะน าทางเทคนิคว่าด้วยการจัดท ารายงาน
ประจ าปี รวมทั้งการส่งเสริมให้บริษัทจัดตั้งกลไกในการขับเคลื่อน
ภายในองค์กรเพื่อด าเนินงานตามนโยบายของบริษัท เช่น การจัดตั้ง กลยุทธ์ 2.3/3.1/4.1
คณะกรรมการสนับสนุนมาตรฐานแรงงาน ทั้งนี้ การประกอบธุรกิจที่
ได้มาตรฐานจะสะท้อน KPI ของบริษัท และภาพลักษณ์ของประเทศ
กลยุทธ์ที่ 10. การจัดท าฐานข้อมูลการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดย
ภาคเอกชน เพื่อน าไปสู่การถอดบทเรียนว่าประเด็นร่วม (common
issue) ของธุรกิจแต่ละสาขา และจัดท าข้อเสนอแนะกับภาคเอกชน กลยุทธ์ 3.1/4.1/4.2/4.3/5.3/5.5
ภาคเอกชน
ถึงแนวทางการปฏิบัติที่ดี
กลยุทธ์ที่ 11. การเฝ้าระวังปัญหาเฉพาะเรื่องของภาคเอกชน (เช่น
เกษตรพันธสัญญา การค้ามนุษย์ แย่งชิงฐานทรัพยากร การท าลาย กลยุทธ์ 1.2/2.2/3.1/4.2
สิ่งแวดล้อม การลงทุนของธุรกิจไทยในต่างประเทศที่ละเมิดสิทธิ
มนุษยชน)
กลยุทธ์ที่ 12. การผลักดันกลไกการไกล่เกลี่ยนอกศาลใน
กระบวนการแก้ไขข้อพิพาทเพื่อให้ผู้เสียหายได้เข้าถึงความเป็นธรรม
อย่างรวดเร็ว ไม่แพง และเป็นที่พอใจ แต่มิได้ตัดสิทธิในการที่จะไป กลยุทธ์ 3.1/4.2
ฟ้องร้องในกระบวนการยุติธรรม
กลยุทธ์ที่ 13. การร่วมมือกับองค์กร หรือสถาบันตรวจสอบที่ได้รับ
การยอมรับในสังคมเพื่อสนับสนุนกลไกเกี่ยวกับปัญหาการประกอบ กลยุทธ์ 2.3/3.1/4.1/4.4)
ธุรกิจและสิทธิมนุษยชน รวมถึงการให้แรงจูงใจที่เหมาะสม
5-54