Page 271 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยแผนกลยุทธ์ด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2562
P. 271
รูปแบบการด าเนินการของแผนกลยุทธ์ภายใต้ 3 แผนหลัก ส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
รูปแบบการด าเนินการของแผนกลยุทธ์ภายใต้ 3 แผนหลัก
แผนปลูกฝัง แผนคุ้มครองและเยียวยา แผนพัฒนาองค์กร
กลยุทธ์ที่ 1: การให้ค าปรึกษาในการจัดท าแผน NAP กลยุทธ์ที่ 2: การประมวลข้อสรุปจากเรื่องร้องเรียนออกมาเป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย กลยุทธ์ที่ 19: การผลักดันแผนกลยุทธ์ขององค์กรให้น าไปใช้เพื่อสนับสนุนการด าเนินงานด้าน
กลยุทธ์ที่ 2: การประมวลข้อสรุปจากเรื่องร้องเรียนออกมาเป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย กลยุทธ์ที่ 3: การตรวจสอบประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนเฉพาะเรื่องจากภาครัฐหรือรัฐวิสาหกิจ สิทธิมนุษยชนและการประกอบธุรกิจ โดย กสม. ควรที่จะปรับสมดุลภาพลักษณ์ขององค์กรให้
ท างานในเชิงส่งเสริมมากขึ้น
กลยุทธ์ที่ 4: การสนับสนุนเชิงเทคนิคและการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานภาครัฐ (เช่น การ (เช่น โครงการขนาดใหญ่ การแย่งชิงฐานทรัพยากร การท าลายสิ่งแวดล้อม) การตรวจสอบผล กลยุทธ์ที่ 20: การท าความเข้าใจภายในองค์กรเพื่อให้เข้าใจตรงกันเกี่ยวกับนิยาม ขอบเขต
ให้ความรู้ในกระบวนการเยียวยาของศาลและภาครัฐอื่นๆที่เกี่ยวข้อง การผลักดันแก้ไขปัญหา การด าเนินงานของภาครัฐ (เช่น ภาครัฐมีกลไกการคุ้มครองและเยียวยาในทางปฏิบัติเป็น อ านาจของ กสม. เพื่อใช้ก าหนดแนวทางการปฏิบัติว่าด้วยการคุ้มครอง และการเยียวยาการ
อย่างไร) และตรวจสอบกลไกการตรวจสอบของภาครัฐ (เช่น หน่วยงานควบคุมรัฐวิสาหกิจว่ามี
ข้ามพรมแดน และการผลักดันเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาเพิ่มเติม)
กลยุทธ์ที่ 5: การสนับสนุนการเชื่อมโยงแผนต่างๆ ของประเทศให้มีประเด็นสิทธิมนุษยชนให้ การด าเนินงานอย่างไร) ละเมิดสิทธิมนุษยชนให้มีประสิทธิภาพ
เด่นชัดมากขึ้น กลยุทธ์ที่ 6: การให้ข้อเสนอเชิงนโยบาย หรือปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบในการคุ้มครองสิทธิ กลยุทธ์ที่ 21: การเพิ่มกลุ่มงานด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชนโดยมีเจ้าหน้าที่ที่มีความเชี่ยวชาญ
มนุษยชนสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวข้องกับภาคธุรกิจ (เช่น การให้มีกฎหมาย Anti SLAPP การให้มี และประสบการณ์ในด้านสิทธิมนุษยชนและการประกอบธุรกิจซึ่งมาจากหลากหลายสาขา
กลยุทธ์ที่ 7: การสนับสนุนการสร้างความตระหนักรู้ด้านสิทธิมนุษยชนกับการประกอบธุรกิจ เนื่องจากประเด็นสิทธิมนุษยชนเกี่ยวข้องกับมิติที่หลากหลาย
(CSR เป็นจุดเริ่มที่ดีแต่ยังไม่เพียงพอ) รวมไปถึงความส าคัญของการบริหารจัดการห่วงโซ่ การคุ้มครองผู้พิทักษ์สิทธิมนุษยชนหรือผู้ให้ข้อมูล (whistle blower) และการสนับสนุนให้ท า
อุปทานการผลิตที่เคารพสิทธิมนุษยชน RIA) กลยุทธ์ที่ 22: การจัดท าคู่มือด้านสิทธิมนุษยชนและการประกอบธุรกิจให้กับเจ้าหน้าที่
กลยุทธ์ที่ 8: การผลักดันการเผยแพร่คู่มือ HRDD ในภาคปฏิบัติ กลยุทธ์ที่ 10: การจัดท าฐานข้อมูลการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยภาคเอกชน เพื่อน าไปสู่การ กลยุทธ์ที่ 23: การพัฒนาโครงสร้างการบริหารจัดการบุคลากรขององค์กรให้มีประสิทธิภาพ
กลยุทธ์ที่ 9: การให้ค าแนะน าทางเทคนิคว่าด้วยการจัดท ารายงานประจ าปี รวมทั้งส่งเสริมให้ ถอดบทเรียนว่าประเด็นร่วม (common issue) ของธุรกิจแต่ละสาขา และจัดท าข้อเสนอแนะ มากขึ้น
บริษัทจัดตั้งกลไกในการขับเคลื่อนภายในองค์กรเพื่อด าเนินงานตามนโยบายของบริษัท เช่น กับภาคเอกชนถึงแนวทางการปฏิบัติที่ดี กลยุทธ์ที่ 24: การส่งเสริมให้มีคลังข้อมูลที่รวบรวมหลักปฏิบัติที่ดีในประเด็นต่างๆ เช่น
การจัดตั้งคณะกรรมการสนับสนุนมาตรฐานแรงงาน กลยุทธ์ที่ 11: การเฝ้าระวังปัญหาเฉพาะเรื่องจากภาคเอกชน (เช่น เกษตรพันธสัญญา การค้า
กรณีศึกษา การบริหารความสัมพันธ์ภายในห่วงโซ่อุปทานการผลิต การจัดท า auditing
กลยุทธ์ที่ 10: การจัดท าฐานข้อมูลการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยภาคเอกชน เพื่อน าไปสู่การ มนุษย์ แย่งชิงฐานทรัพยากร การท าลายสิ่งแวดล้อม การลงทุนของธุรกิจไทยในต่างประเทศที่ system และรายงานประจ าปี นอกจากนี้ควรส่งเสริมให้ภาคเอกชนจัดท า KPI ของตนเองขึ้น
ถอดบทเรียนว่าประเด็นร่วม (common issue) ของธุรกิจแต่ละสาขา และจัดท าข้อเสนอแนะ ละเมิดสิทธิมนุษยชน)
กลยุทธ์ที่ 25: การพัฒนากลไกการบริหารที่ต้องมีการติดตาม การประสานงานกับผู้ร้องเรียน
กับภาคเอกชนถึงแนวทางการปฏิบัติที่ดี กลยุทธ์ที่ 12: การผลักดันกลไกการไกล่เกลี่ยนอกศาลในกระบวนการแก้ไขข้อพิพาท เพื่อให้ ถึงสถานะการด าเนินการการตรวจสอบเรื่องร้องเรียนอย่างเหมาะสม และการประเมินผลการ
กลยุทธ์ที่ 13: การร่วมมือกับองค์กร หรือสถาบันตรวจสอบที่ได้รับการยอมรับในสังคมเพื่อ ผู้เสียหายได้เข้าถึงความเป็นธรรมอย่างรวดเร็ว ไม่แพง และเป็นที่พอใจ แต่มิได้ตัดสิทธิในการที่ ปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์ฯ ทั้งจากภายในและภายนอกเพื่อที่จะเป็นประโยชน์ในการขับเคลื่อน
จะไปฟ้องร้องในกระบวนการยุติธรรม
สนับสนุนกลไกเกี่ยวกับปัญหาการประกอบธุรกิจและสิทธิมนุษยชน รวมถึงการให้แรงจูงใจที่
เหมาะสม แผนที่เป็นรูปธรรมต่อไป (เช่น การจัดท ารายงานประจ าปีที่มีการสรุปการด าเนินงานในประเด็น
กลยุทธ์ที่ 16: การสนับสนุนกลไกการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (เช่น การให้ค าปรึกษากับผู้ร้อง ของธุรกิจและสิทธิมนุษยชนอย่างชัดเจน)
กลยุทธ์ที่ 14: การสร้างความตระหนักรู้แก่กลุ่มที่เสี่ยงต่อการถูกละเมิด และสาธารณชนทั่วไป ทุกข์เพื่อให้เข้าถึงกระบวนการยุติธรรม กลไกการเยียวยา รวมทั้งการปรับปรุงกลไกการ
กลยุทธ์ที่ 15: การถอดบทเรียนและจัดท ากรณีศึกษาเพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถเข้าถึง ปกป้องผู้พิทักษ์สิทธิมนุษยชน)
ข้อเท็จจริง
กลยุทธ์ที่ 17: การขยายช่องทางการติดต่อเพื่อให้เกิดการเข้าถึง กสม. ได้สะดวกมากขึ้น
กลยุทธ์ที่ 17: การขยายช่องทางการติดต่อเพื่อให้เกิดการเข้าถึง กสม. ได้สะดวกมากขึ้น
กลยุทธ์ที่ 18: การพัฒนาความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายทั้งในและต่างประเทศ เพื่อแก้ไขปัญหา
ด้วยความเป็นกลาง มุ่งเสนอจุดยืนบนพื้นฐานของสิทธิมนุษยชนอย่างเคร่งครัด ซึ่งแบ่งได้ดังนี้
ก. กสม. ควรปลูกฝังให้ความรู้กับผู้น าชุมชน ภาคประชาสังคม องค์กรพัฒนาเอกชน
และการร่วมเสริมสร้างศักยภาพกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิให้กับภาคีเครือข่าย
ข. กสม. ควรพัฒนาเครื่องมือในการสื่อสารความรู้และร่วมมือกับสื่อในการให้ความรู้
ทางด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชน รวมทั้ง สนับสนุนบทบาทของสื่อในการตรวจสอบเชิงลึก
ค. กสม. ควรสนับสนุนในด้านฐานข้อมูลร่วมกับภาควิชาการเพื่อน าไปสู่การท าวิจัย
และพัฒนา (เช่น การแปลคู่มือมาตรฐานต่างๆ การวิเคราะห์วิจัยเชิงลึก)
ง. กสม. ควรร่วมแลกเปลี่ยนความรู้ มาตรฐานสากล บทเรียน แนวทางการ
ปฏิบัติที่ดี รวมไปถึงการท าวิจัยและพัฒนาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน
ต่างประเทศ