Page 59 - รายงานศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยผังเมืองกับการคุ้มครองสิทธิชุมชนและสิทธิการมีส่วนร่วมของประชาชน
P. 59
สำานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
- สาธารณสมบัติของแผ่นดิน/ทรัพย์สินแผ่นดิน
- สาธารณสมบัติของแผ่นดินเพื่อประโยชน์ของแผ่นดิน
- ที่หวงห้าม สงวน ตามความต้องการของทบวงการเมือง
- สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ประชาชนใช้สอยร่วมกัน
มาตรา 3 บุคคลย่อมมีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน
มาตรา 4 ให้มีกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า คณะกรรมก�รจัดที่ดินแห่งช�ติ มีอำานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(1) วางนโยบ�ยก�รจัดที่ดิน เพื่อให้ประชาชนมีที่ดินสำาหรับอยู่อาศัยและห�เลี้ยงชีพตามควรแก่
อัตภาพ
(2) วางแผนการถือครองที่ดิน
(3) สงวนและพัฒนาที่ดินเพื่อจัดให้แก่ประชาชน
(4) สงวนหรือหวงห้ามที่ดินของรัฐซึ่งมิได้มีบุคคลใดมีสิทธิครอบครองเพื่อให้ประชาชนใช้ประโยชน์
ร่วมกัน
และ (10) วางระเบียบหรือข้อบังคับกำ�หนดหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขเกี่ยวกับก�รจัดที่ดินหรือ
เพื่อกิจก�รอื่น ตามประมวลกฎหมายนี้ระเบียบหรือข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับประชาชน ให้ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษาตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2526
6) พระร�ชบัญญัติพัฒน�ที่ดิน พ.ศ. 2526
มาตรา 4 ให้มีคณะกรรมการพัฒนาที่ดิน และ
มาตรา 5 ให้คณะกรรมการพัฒนาที่ดินมีอำานาจและหน้าที่พิจารณากำาหนดการจำาแนกประเภทที่ดิน
ก�รว�งแผนก�รใช้ที่ดิน ก�รพัฒน�ที่ดินและก�รกำ�หนดบริเวณก�รใช้ที่ดิน เสนอขอรับความเห็นชอบ
ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อให้หน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องรับไปปฏิบัติ
7) พระร�ชบัญญัติก�รจัดสรรที่ดิน พ.ศ. 2543
การขยายตัวของการพัฒนาที่ดิน การจัดสรรที่ดินและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ของเอกชนทำาให้
รัฐบาลต้องออกกฎหมายเพื่อจัดระเบียบการจัดสรรที่ดินโดยประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 286 ซึ่งต่อมาได้
แก้ไขเป็นพระราชบัญญัติจัดสรรที่ดิน พ.ศ. 2543
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “การจัดสรรที่ดิน” หมายความว่าการจำาหน่ายที่ดินที่ได้แบ่งเป็น
แปลงย่อยรวมกันตั้งแต่สิบแปลงขึ้นไปไม่ว่าจะเป็นการแบ่งจากที่ดินแปลงเดียวหรือแบ่งจากที่ดินหลาย
แปลงที่มีพื้นที่ติดต่อกันโดยได้รับทรัพย์สินหรือประโยชน์เป็นค่าตอบแทน
58