Page 57 - รายงานศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยผังเมืองกับการคุ้มครองสิทธิชุมชนและสิทธิการมีส่วนร่วมของประชาชน
P. 57

สำานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ



                    2.2) พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518


                    การดำาเนินการตามพระราชบัญญัติการผังเมืองและผังชนบท พ.ศ. 2495 ไม่ประสบความสำาเร็จ
            จึงได้มีการตราพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 ขึ้น ในกฎหมายฉบับนี้ได้กำาหนดให้มีการวางและ

            จัดทำาผังเมือง 2 ระดับ คือ ผังเมืองรวม (General Plan) และผังเมืองเฉพาะ (Specific Plan)

                    มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้


                    “การผังเมือง” หมายความว่า ก�รว�ง จัดทำ�และดำ�เนินก�รให้เป็นไปตามผังเมืองรวมและผังเมือง
            เฉพาะ ในบริเวณเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท เพื่อสร้�งหรือพัฒน�เมือง หรือส่วนของเมืองขึ้นใหม่

            หรือแทนเมืองหรือส่วนของเมืองที่ได้รับความเสียหาย เพื่อให้มีหรือทำาให้ดียิ่งขึ้นซึ่งสุขลักษณะความสะดวก
            สบาย ความเป็นระเบียบ ความสวยงาม การใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน ความปลอดภัยของประชาชน และ

            สวัสดิภาพของสังคม เพื่อส่งเสริมการเศรษฐกิจสังคมและสภาพแวดล้อม เพื่อดำารงรักษาหรือบูรณะสถานที่

            และวัตถุที่มีประโยชน์หรือคุณค่าในทางศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ประวัติศาสตร์ หรือโบราณคดี หรือเพื่อ
            บำารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิประเทศที่งดงาม หรือมีคุณค่าในทางธรรมชาติ


                    “ผังเมืองรวม” หมายความว่า แผนผัง นโยบ�ยและโครงก�รรวมทั้งม�ตรก�รควบคุมโดยทั่วไป

            เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา และการดำารงรักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท ในด้�น
            ก�รใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน ก�รคมน�คมและก�รขนส่ง ก�รส�ธ�รณูปโภค บริก�รส�ธ�รณะและ

            สภ�พแวดล้อม เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของก�รผังเมือง


                    “ผังเมืองเฉพาะ” หมายความว่า แผนผังและโครงก�รดำาเนินการเพื่อพัฒนาหรือดำารงรักษาบริเวณ
            เฉพ�ะแห่ง หรือกิจการที่เกี่ยวข้อง ในเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบทเพื่อประโยชน์แก่ก�รผังเมือง



                    3) พระร�ชบัญญัติควบคุมอ�ค�ร พ.ศ. 2522

                    กลไกในการควบคุมการพัฒนาเมืองนอกจากพระราชบัญญัติการผังเมืองแล้ว ยังมีพระราชบัญญัติ
            ควบคุมอาคาร ซึ่งเป็นการควบคุมในระดับอาคารและแปลงที่ดินเฉพาะราย


                    มาตรา 8 เพื่อประโยชน์แห่งความมั่นคงแข็งแรง ความปลอดภัย การป้องกันอัคคีภัย การสาธารณสุข

            การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ก�รผังเมือง การสถาปัตยกรรม และการอำานวยความสะดวกแก่การจราจร
            ตลอดจนการอื่นที่จำาเป็นเพื่อปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ให้รัฐมนตรีโดยคำาแนะนำาของคณะกรรมการ

            ควบคุมอาคารมีอำานาจออกกฎกระทรวงกำาหนด


                    (1)  ประเภท ลักษณะ แบบ รูปทรง สัดส่วน ขนาด เนื้อที่ และที่ตั้งของอาคาร

                    …

                    (7)  ลักษณะ ระดับ ความสูง เนื้อที่ของที่ว่างภายนอกอาคาร หรือแนวอาคาร








                                                           56
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62