Page 20 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรกับมิติสิทธิมนุษยชน
P. 20

๑.๔  ขอบเขตการวิจัย








                        ๑.   ขอบเขตเนื้อห� ศึกษาแนวคิด หลักการสิทธิมนุษยชน และมาตรฐานสากลที่เกี่ยวข้องกับ

                  การปกป้องคุ้มครองสิทธิเด็กและเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรจากกฎหมาย แนวนโยบาย

                  ของรัฐ หลักการและมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการปกป้องคุ้มครองสิทธิของเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์

                  ก่อนวัยอันควรตามกฎหมายต่างๆ เอกสารทางวิชาการ หนังสือ ต�ารา รายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้อง

                  ในประเทศไทยและต่างประเทศ  รวมถึงหลักการและมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการปกป้องคุ้มครอง

                  สิทธิของเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรตามกฎหมายของต่างประเทศ ๓ ประเทศ ได้แก่

                  ฟิลิปปินส์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย


                        ๒.   ขอบเขตกลุ่มเป้�หม�ย จากกลุ่มเป้าหมายจ�านวน ๗๒ ราย ประกอบด้วย ๑) กลุ่มเยาวชน

                  หญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร โดยแบ่งเป็นกลุ่มเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ต่อและยุติการตั้งครรภ์ ๒)

                  กลุ่มผู้ปกครองของเยาวชนหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ๓) กลุ่มเยาวชนชายทั่วไปที่ยังไม่ได้แต่งงาน

                  ซึ่งไม่จ�าเป็นว่าจะมีประสบการณ์ทางเพศหรือไม่ และ ๔) กลุ่มเจ้าหน้าที่ขององค์กรพัฒนาเอกชน

                  ภาคประชาสังคม โรงพยาบาล โรงเรียนที่มีส่วนเกี่ยวข้อง



                        ๓.   ขอบเขตพื้นที่ พื้นที่ในการเก็บข้อมูลจะเลือกเฉพาะพื้นที่กรุงเทพมหานคร นนทบุรี

                  นครปฐม และเพชรบุรี










                  ๑.๕  ระเบียบวิธีวิจัย








                        การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้มุมมองที่มีความละเอียดอ่อนต่อเพศภาวะกับบริบท

                  ทางสังคม (Gender-Sensitive and Context-Specific Approach) และมุมมองด้านสิทธิมนุษยชน

                  (Right-Based Approach) ในการศึกษาวิจัย และใช้วิธีวิทยา ดังต่อไปนี้





                                                   ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ //  19
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25