Page 148 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 148

๑๒๑



                   ๒๐๐,๐๐๐ ไร่ และป่าเขาภูหลวง ประมาณ ๕๐,๐๐๐ ไร่ เพื่อเข้าโครงการพัฒนาในเขตปฏิรูปที่ดิน ซึ่งใช้

                   เงินกู้จากธนาคารโลก จากนั้นมีพระราชกฤษฎีกาก าหนดเขตที่ดินในท้องที่ อ าเภอวังน้ าเขียว  อ าเภอ
                   ปักธงชัย อ าเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา ให้เป็นเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. ๒๕๒๑ ในเขตพื้นที่ป่าสงวน

                   แห่งชาติทั้งสองพื้นที่ (ป่า) ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๒๔ ได้ประกาศเขตอุทยานแห่งชาติทับลาน เนื้อที่ประมาณ

                   ๑,๓๙๗,๓๗๕ ไร่ ซึ่งพบว่า แนวเขตอุทยานฯ ทับซ้อนกับพื้นที่เขตปฏิรูปที่ดินบริเวณป่าสงวนแห่งชาติ
                   ป่าวังน้ าเขียว


                                       จากการมอบพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติบางส่วนให้ส านักงานการปฏิรูปที่ดิน

                   เพื่อเกษตรกรรมน าไปปฏิรูปที่ดิน และมีการเปลี่ยนแปลงแนวเขตการปกครองและตั้งต าบลเพิ่มเติม ท าให้
                   รัฐออกกฎกระทรวง ในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ จ านวน ๒ ฉบับ คือ ฉบับที่ ๑๑๔๔ เพิกถอนพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ

                   ป่าเขาภูหลวงบางส่วน คงเหลือเนื้อที่ ๖๕๑,๔๔๐ ไร่ และฉบับที่ ๑๑๔๕ เพิกถอนพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ

                   ป่าวังน้ าเขียวบางส่วน คงเหลือเนื้อที่ ๑๑,๗๒๑ ไร่ เพื่อตัดส่วนที่จะน ามาด าเนินการปฏิรูปที่ดินออกจาก

                   ป่าสงวนแห่งชาติ และเพื่อป้องกันอุทยานแห่งชาติและป่าสงวนแห่งชาติทับซ้อนกัน

                                       นอกจากนั้น กรมป่าไม้ยังจ าแนกเขตการใช้ประโยชน์ในที่ดินและป่าไม้ (Zoning)

                   (ตามแผนภาพ) ในพื้นที่ป่าเขาภูหลวง เนื้อที่ ๕๘๖,๗๒๕ ไร่ จ าแนกเป็นเขตอนุรักษ์โซน C  เนื้อที่
                   ๒๒๗,๒๗๕ ไร่ พื้นที่ป่าเศรษฐกิจ โซน E  เนื้อที่ ๓๕๗,๕๗๕ ไร่  และพื้นที่เกษตรกรรม โซน A  เนื้อที่

                   ๑,๘๗๕ ไร่ ดังนั้น จึงเหลือพื้นที่ที่ในเขตป่าเขาภูหลวงที่กรมป่าไม้ ส่งมอบให้ส านักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ

                   เกษตรกรรม รวมเนื้อที่ประมาณ ๓๕๕,๗๐๐ ไร่ (พื้นที่โซน E และโซน A) และส านักงานการปฏิรูปที่ดิน
                   เพื่อเกษตรกรรมได้กันพื้นที่ป่าเขาภูหลวงคืนให้กรมป่าไม้ ประมาณ ๒๑,๙๑๖ ไร่


                                       ทั้งนี้ อ าเภอวังน้ าเขียว จังหวัดนครราชสีมา มีเขตด าเนินการปฏิรูปที่ดิน จ านวน

                   ๓ โครงการ ได้แก่ (๑) ป่าวังน้ าเขียว (F) ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๓๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๕
                   (กฎกระทรวงเพิกถอนป่าวังน้ าเขียวบางส่วน ฉบับที่ ๑๑๔๕ ปี พ.ศ. ๒๕๒๘) (๒) ป่าเขาภูหลวง (F)

                   ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๓๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๕ (กฎกระทรวงเพิกถอนป่าเขาภูหลวงบางส่วน

                   ฉบับที่ ๑๑๔๔ ปี พ.ศ. ๒๕๒๘) (๓) ป่าวังน้ าเขียว (E) ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๗

                   โดยส านักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัดนครราชสีมา ได้ด าเนินการจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร เรียบร้อยแล้ว
                   จ านวน ๖,๒๑๗ ราย ๗,๖๑๖ แปลง เนื้อที่รวมประมาณ ๑๓๓,๕๒๐ ไร่ (รูปที่ 4.4 และ 4.5)
   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153