Page 59 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 59
• ข้อมูลเกี่ยวกับกลไกภายในเรื่องการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน (รวมทั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติอื่น ๆ รัฐสภา
รัฐมนตรี และองค์การเอกชน)
• ข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างและการท�างานของกลไกการด�าเนินงานระหว่างประเทศ
• การศึกษาเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนและรายงานจากกระทรวง องค์การเอกชน และองค์กรระหว่างประเทศ
3.2.5 แนวทางการสร้างการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสีย
เพื่อให้การน�าเสนอข้อเสนอแนะและความคิดความเห็นแก่สาธารณะเป็นไปอย่างมีประสิทธิผล สื่อสามารถเป็น
พันธมิตรที่มีคุณค่าอย่างยิ่งของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ทั้งนี้ ต้องมีการก�าหนดขอบเขตและแผนการส่งเสริมสิทธิ
มนุษยชนที่จะสามารถใช้ประโยชน์จากการมีส่วนร่วมของสื่อต่าง ๆ โดยกิจกรรมเหล่านี้อาจเป็นกิจกรรมที่สื่อจะสามารถ
เข้ามาช่วยเหลือการท�างานของสถาบันมนุษยชนแห่งชาติได้ เช่น
การแจ้งให้ประชาชนทราบเกี่ยวกับการด�ารง
อยู่ของสถาบันฯ และหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย การให้ความรู้แก่ชุมชนเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
ให้รับผิดชอบ รวมถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ด้านต่าง ๆ ของประชาชน
กับสถาบันฯ
การเผยแพร่ข้อมูลสิทธิมนุษยชนทั่วไป การสร้างความตระหนักเกี่ยวกับสถานการณ์ภายใน
ตลอดจนความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของสถาบัน ประเทศและระหว่างประเทศ รวมถึงข้อเสนอแนะหรือ
มนุษยชนแห่งชาติ รวมทั้งผลการตรวจสอบหรือ ความคิดเห็นของสถาบันฯ ต่อมุมมองเรื่องสิทธิมนุษยชน
การจัดการข้อร้องเรียน ในสถานการณ์ดังกล่าว
นอกจากนั้น สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติสามารถขอความร่วมมือและการสนับสนุนจากหน่วยงานอื่น ๆ รวมทั้ง
หน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานที่ไม่ใช่รัฐบาล เพื่อด�าเนินการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์สิทธิมนุษยชนให้เป็นที่รู้จัก
อย่างกว้างขวาง
สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติควรสร้างและสานความสัมพันธ์กับองค์การเอกชน (NGOs) และชุมชนที่เกี่ยวข้อง
ทั้งทางตรงและทางอ้อมกับสิทธิมนุษยชน ความสัมพันธ์ดังกล่าวจะช่วยให้การท�างานของสถาบันฯ สะดวกยิ่งขึ้น และ
ยังเพิ่มประสิทธิภาพกรท�างานของสถาบันฯ อีกด้วย ทั้งนี้ องค์การเอกชน (NGOs) จะเป็นประโยชน์อย่างมากในการ
ช่วยให้ประชาชนรู้จักสถาบันฯ มากขึ้นเนื่องจากเป็นองค์กรที่เข้าใจและท�างานร่วมกับกลุ่มบุคคลในสังคม โดยเฉพาะ
กลุ่มผู้ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน
58
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ