Page 55 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 55
3.2.2 วิธีการส่งเสริมสิทธิมนุษยชน
สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติอาจด�าเนินโครงการที่หลากหลายเพื่อส่งเสริมสิทธิมนุษยชน ซึ่งมักมีลักษณะกิจกรรมทั่วไป
ดังนี้
การอบรมและการศึกษาในเรื่องสิทธิมนุษยชน การเผยแพร่และสร้างความตระหนัก
ซึ่งประกอบด้วยการฝึกอบรมในโรงเรียน หรือใน ซึ่งประกอบด้วยการรณรงค์ การจัดกิจกรรมหรือ
หน่วยงานเอกชน หรือการมีการอบรมเฉพาะวิชาชีพ การสัมมนาในท้องถิ่นส�าหรับประชาชนทั่วไปหรือ
กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
กลยุทธ์การใช้สื่อ
ซึ่งประกอบด้วยการแถลงข่าว การประชาสัมพันธ์ข่าว
ผ่านทางหนังสือพิมพ์และวิทยุ การสัมภาษณ์ผ่านทาง การจัดท�าเอกสารเผยแพร่
โทรทัศน์ การปราศรัย การให้ข้อมูลต่อสาธารณะ หรือ ซึ่งประกอบด้วยแผ่นพับเพื่อให้ข้อมูลทั่วไป รายงานเฉพาะ
การใช้สื่อรูปแบบใหม่ ๆ เช่น ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ และรายงานประจ�าปี เว็บไซต์และเครื่องมือที่พัฒนา
เฉพาะส�าหรับแต่ละกลุ่มเป้าหมาย
การสัมมนาและการอบรมเชิงปฏิบัติ
ในฐานะเครื่องมือขับเคลื่อน ทดสอบและส่งเสริม
ความเข้ารู้ความเข้าใจที่ดีขึ้นในประเด็นด้านกฎหมาย การส่งเสริมผ่านการจัดกิจกรรมในพื้นที่ชุมชน
และสถานการณ์สิทธิมนุษยชน รวมถึงเป็นกลไกที่ ในฐานะเครื่องมือขับเคลื่อนในการส่งเสริม
สนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลง สิทธิมนุษยชนระดับพื้นที่
การพัฒนานโยบาย
เพื่อให้แน่ใจว่ามีการพัฒนาและเผยแพร่ความรู้
เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
โดยขอบเขตของวิธีการด�าเนินงานดังกล่าวอาจถูกน�ามาประยุกต์ใช้ ขึ้นอยู่กับสิ่งต่อไปนี้
• ระดับความตระหนักในสิทธิมนุษยชนของประชาชน (หากอยู่ในระดับสูง สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติอาจตัดสินใจ
ที่จะไม่ด�าเนินการในภาคของประชาชนทั่วไป)
• ล�าดับความส�าคัญของปัญหาสิทธิมนุษยชน (เช่น มีการไม่เคารพในสิทธิสตรี สถาบันฯ อาจมีการพัฒนาแผนการ
ด�าเนินงานด้านสตรี เพื่อให้เกิดประสิทธิผลมากขึ้น)
• วุฒิภาวะของสถาบันฯ (สถาบันฯ ที่ก่อตั้งขึ้นใหม่อาจมุ่งเน้นไปที่การชี้แจงให้ประชาชนทราบถึงการด�ารงอยู่และการบริการ
หรืออาจมุ่งเน้นไปที่การให้ข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลในกรณีที่เป็นสถาบันฯ ที่เก่าแก่หรือเป็นสถาบันฯ ที่มีชื่อเสียงมาก ๆ)
• ความเชี่ยวชาญของสถาบันฯ (สถาบันฯ ที่ก่อตั้งขึ้นใหม่อาจมีการน�าผู้เชี่ยวชาญภายนอกเข้ามาด�าเนินงาน เช่น
การอบรมเฉพาะให้กับต�ารวจ เป็นต้น)
54
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ