Page 56 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 56

•  อัตราผู้รู้หนังสือในประชาชนเป้าหมาย (สื่อวิทยุอาจเข้ามาท�าหน้าที่แทนสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถเข้าถึง
                     ประชาชนส่วนใหญ่ที่อยู่ห่างไกลและไม่รู้หนังสือ)
                        •  ความเป็นไปได้ในการร่วมมือ (ค่าใช้จ่ายและความซับซ้อนในการให้ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนทั่วไป

                     ในส่วนท้องถิ่นนั้นจะลดลงหากมีการร่วมมือกับองค์การเอกชนต่าง ๆ เป็นต้น)




                           กิจกรรมส่งเสริมสิทธิมนุษยชนต่าง ๆ ของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติควรด�าเนินการในลักษณะโครงการ
                          หรือแผนงาน (program-based) ที่ได้วางแผนไว้อย่างเหมาะสม เพื่อตอบสนองความต้องการที่ก�าหนดไว้ดังนี้






                                    1                             2                               3


                        สอดคล้องกับกลยุทธ์ขององค์กร         สร้างความพึงพอใจ         ส่งเสริมให้บรรลุผลตามจุดประสงค์
                        หรือสร้างให้เกิดความร่วมมือ หรือ    แก่กลุ่มเป้าหมาย        ของสถาบันฯ ทั้งนี้ควรมีการประเมิน

                         เป็นคานงัดด้านสิทธิมนุษยชน                             เพื่อก�าหนดขอบเขตที่จะบรรลุผลลัพธ์เหล่านั้น




                      ตามหลักแล้ว เมื่อมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมสิทธิมนุษยชน ควรต้องก�าหนดวิธีการที่สื่อสามารถน�าไปเผยแพร่และ

                    เข้าร่วมได้ เนื่องจากการเสนอข่าวของสื่อเชิงบวกสามารถเพิ่มภาพลักษณ์ที่ดีให้กับสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติและสนับสนุน
                    ให้มีการเข้าถึงสถาบันฯ อีกด้วย นอกจากนี้ การน�าสื่อเข้ามามีส่วนร่วมยังช่วยให้นักข่าวค�านึงถึงหลักสิทธิมนุษยชนมากขึ้น
                    ในการท�างาน หรืออย่างน้อยก็ตระหนักถึงเรื่องสิทธิมนุษยชนเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ เจ้าหน้าที่ควรได้รับการฝึกอบรมในเรื่องการสื่อสาร

                    และสื่อมวลชนสัมพันธ์  เนื่องจากสื่อจะมีบทบาทส�าคัญในการท�าให้คนภายนอกรับรู้และมั่นใจได้ว่าสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
                    เป็นสถาบันฯ ที่ได้รับการยอมรับ




                       สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติควรส่งเสริมให้มีความรู้ความเข้าใจและยอมรับในหลักการสิทธิมนุษยชนอย่างกว้างขวาง

                    โดยอาจท�าได้โดยผ่านแผนการสร้างความตระหนักแก่สาธารณชน การใช้สื่อเพื่อส่งเสริมความตระหนักของประชาชน
                    อาจจะแบ่งได้ 2 ประเภท ดังนี้


                            การรณรงค์เพื่อสร้างความตระหนักต่อสาธารณชนหรือบุคคลทั่วไป

                            ในระหว่างที่มีการเสนอข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนสู่สาธารณชน และมีการอธิบายถึงบทบาท
                            ของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ


                            การรณรงค์กับกลุ่มเป้าหมาย
                            มุ่งเน้นไปที่สิทธิเฉพาะเรื่องหรือสิทธิเฉพาะประเด็น









                                                                                                                 55
                                                                       มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61