Page 27 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 27
1. รูปแบบคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชน
(Commission)
เป็นสถาบันของรัฐมีค�าสั่งชัดเจนที่จะ สามารถรับข้อร้องเรียนของ
คุ้มครองและส่งเสริมสิทธิมนุษยชน บุคคลและกลุ่มได้ (มีอ�านาจ
ในขณะเดียวกัน ก็อาจต้อง “กึ่งตุลาการ” ตามที่
ด�าเนินการตามข้อตกลง หลักการปารีสระบุ)
ระหว่างประเทศในประเด็น
เฉพาะอื่น ๆ เช่น สิทธิสตรี ฯลฯ รูปแบบของ
คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชน
แบ่งตำมคุณสมบัติ
ได้ดังนี้ • มีอ�านาจเพื่อให้ค�า
หน้าที่หลัก คือ แนะน�าตามการ
การตรวจสอบหาความจริง สอบสวน และให้ค�าปรึกษา
เชิงนโยบาย
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนโดยทั่วไปจะมีสมาชิกจ�านวนหนึ่ง เพื่อให้เกิดความหลากหลายตามมาตรฐานขั้นพื้นฐานใน
หลักการปารีส ทั้งนี้ สมาชิกอาจปฏิบัติหน้าที่แบบเต็มเวลาหรือแบบนอกเวลา แต่ประธานกรรมการจะปฏิบัติหน้าที่แบบ
เต็มเวลา แม้ว่าคณะกรรมการที่มีความหลากหลายจะเป็นสิ่งที่ดี แต่ถ้าไม่มีกลไกที่มีประสิทธิภาพ อาจท�าให้เกิดความล่าช้า
ในการตัดสินใจและมีค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้น เนื่องจากการตัดสินใจกระจายไปยังกลุ่มสมาชิกที่มีความแตกต่างหลากหลาย
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนจะมีหน้าที่ในการตรวจสอบ
ปัญหาสิทธิมนุษยชนหรือข้อร้องเรียนของบุคคลและกลุ่ม
เพื่อคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและให้เป็นไปตามพันธกรณี
ที่ก�าหนดไว้ ตัวอย่างของสถาบันแห่งชาติในรูปแบบ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนจะพบได้ในทวีปอเมริกาและอีก
หลายประเทศในเครือจักรภพ ได้แก่ ออสเตรเลีย แคนาดา
นิวซีแลนด์ และสหราชอาณาจักร
26
มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ